คุยเรื่องพริกกับคนช่างสงสัย
เอกลักษณ์อย่างหนึ่งของอาหารไทยทุกภาคคือรสเผ็ดและเป็นรสเผ็ดที่มาจาก “พริก” แกงเผ็ด แกงเขียวหวาน หรืออาหารยอดนิยมอย่างผัดกระเพรา ล้วนไม่ขาดพริก น้ำพริกต่าง ๆ ก็ต้องมีพริก แม้แต่คนที่กินเผ็ดน้อยที่สุด ก็คงกินส้มตำโดยไม่ใส่พริกไม่ได้
ผักเสี้ยวหน้าแล้ง
พูดถึง ผัก หลายคนคงนึกถึง ผักกาด ผักคะน้า แตงกวา มะเขือเปราะ ถั่วฝักยาว และผักอื่น ๆ ที่เห็นจนชินตาตามแผงขายผัก เรามักเข้าใจว่า ผักเป็นพืชล้มลุก อายุไม้ยืน ต้องมีคนปลูก เจริญเติบโต และมีรสชาติดีในหน้าหนาว แต่ในฤดูกาลที่ร้อนแล้งเช่นนี้ถ้าชี้ไปที่ต้นไม้ริมทางชนิดหนึ่งแล้วบอกว่า นี่แหละเป็นผักที่จะเอามาทำกินกันเย็นนี้คงมีคนสงสัยว่า เป็นไปได้หรือ
การค้นพบสมุนไพรวิเศษ
ข้าพเจ้าได้อ่านหนังสือเรื่อง วันและคืนในป่าเมืองลาว เป็นหนังสือประวัติการทำสงครามในป่าเมืองลาว อันเป็นสงครามที่ยืดเยื้อยาวนาน ซึ่งเขียนโดย ท่านด่าว วันเตี้ยน และท่านสมสะหวาด เล่งสะหวัด เล่าถึงความเป็นไปของการประสานงานของฝ่ายเสนาธิการและการข่าวในแนวหลัง ในช่วงที่ฝ่ายอเมริกันได้ใช้เครื่องบินมาโปรยสารพิษที่เรียกกันว่า ฝนเหลือง (Yellow Rain or Agent Orange) เพื่อทำลายใบไม้ในป่า ไม่ให้เป็นที่หลบซ่อนของทหารแนวลาวฮักซาดและทหารเวียดมินห์ ในยุคสงครามเวียดนามระหว่างปี ๒๕๐๕ – ๒๕๑๔
ประวัติและที่มา ทำไมจึงเรียกงานแต่งงานว่า “กินดอง”
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว เมื่อครั้งอดีตที่ผ่านมานั้นยังมีหนองน้ำใหญ่แห่งหนึ่ง อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร ของกินนานาชนิด จึงเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตหลากหลายเผ่าพันธุ์ได้เข้าอาศัยอยู่ ตามแหล่งน้ำดังกล่าวนี้ได้มีสัตว์น้อยใหญ่ทั้งหลาย ฝูงปลาเล็กใหญ่ต่างแหวกว่ายไปมาตามหนองน้ำใส ฝู
ลาบนก
เมนูอาหารป่า ก็เป็นอีกหนึ่งเมนูที่คนอีสานชอบนัก ไม่ว่าจะเป็นผัดเผ็ดหมูป่า อ่อมบ่าง ซั้วงูสิง ก้อยกะปอม ถือว่าเป็นอาหารชั้นเลิศ แม้สัตว์ป่าบางชนิดเป็นสัตว์ป่าหวงห้าม ผู้ใดมีไว้ครอบครองหรือล่ามาทำเป็นอาหารก็จะมีความผิด! แต่คนบางกลุ่มก็ยังแอบล่าหามารับประทานอยู่เสมอ
มะเขือในครัวไทย
โบราณว่าไว้ “ของดี ไม่กินก็เน่า เรื่องเก่า ไม่เล่าก็ลืม” เรื่องราวของมะเขือ พืชผักที่แสนธรรมดาในสายตาหลายคน มะเขือนานาชนิด เคยโดดเด่นอยู่ในถ้วยอาหารไทยทุกภาคถิ่น กลางและใต้ มีแกงเผ็ดใส่มะเขือ ยำเนื้อใส่มะเขือ ทางเหนือมีตำมะเขือส้ามะเขือ อีสานมีซุบมะเขือ มาถึงวันนี้ อาหารไทยสมัยใหม่มีมะเขือน้อยลง ทั้งชนิดและปริมาณ ด้วยเกรงว่าเรื่องของมะเขือในครัวไทยจะถูกลืม เอาละวันนี้เราจะมาคุยกัน…เรื่องมะเขือ
ตุนอาหาร
พ่อเฒ่าเกรียงศักดิ์ มีลูกเขยชื่อ จักษ์ เป็นคนชอบเล่นไพ่ในระดับต้น ๆ บางครั้งก็ได้ บางครั้งดวงซวยก็เสีย แต่ส่วนใหญ่ก็จะหนักไปทางเสียซะมากกว่า จนพ่อเฒ่าเกรียงศักดิ์ ต้องเตือนแล้วเตือนอีก เนื่องจากสงสารลูกสาวกับหลาน ๆ ต้องหารายได้จากทางอื่นมาเสริม ดูแลครอบครัว
ร่องรอยหลักฐาน
พ่อเฒ่าสุทัศน์ เป็นคนย้านเมียมาตั้งแต่แต่งงานวันแรกจนถึงปัจจุบัน การกระทำกิจกรรมใด ๆ ต้องอยู่ในกรอบที่เมียกำหนดทุกเรื่อง โดยเฉพาะเรื่องผู้หญิง พ่อเฒ่าสุทัศน์จะถูกเมียตัดสิทธิ์โดยสิ้นเชิง อย่าให้มีหลักฐานให้รู้เห็นเป็นอันขาดถ้าได้พบเห็นเป็นต้องเกิดเรื่องใหญ่เป็นแน่แท้!
ยางหมากกะถุน
“พ่อเฒ่า ! ข้อยเบิ่งเจ้าคล้ายกับคนมีความเหงา เก็บกดเนาะ! หรือว่า เจ้าอยากได้เมียใหม่ ?” บักคำถามแบบแย็บหมัดตรง
“มึงฮู้ได้จั้่งได๋วะ ? ที่จริงพ่อก็อยากได้เมียใหม่อยู่” พ่อเฒ่าช้างเว้าอ้อมแอ้ม แล้วว่าต่อ “พ่ออยากได้เมียเป็นสาวน้อยว่ะ...แม่ฮ้างนางหม้ายพ่อบ่เอ๋าเด้อ!”
แม่ผู้เพาะต้นกล้าภาษา และวัฒนธรรมไทยในสวิส
“แม่ ใจเย็น ๆ แม่รอคิวก่อน”
เสียงเด็กชายหน้าตาฝรั้งฝรั่ง จับมือแม่บอกแม่ใจเย็น ๆ ถ้าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่ท่าตูม เมืองสุรินทร์ หรือที่กรุงเทพ ย่อมไม่แปลก แต่ที่แม่ลูกยืนคุยกันอยู่นั้นคือที่ เมืองเวททิงเง่น รัฐอาร์เกา สวิตเซอร์แลนด์
กิ น ก้ อ ย ซี้ น
พ่อเฒ่ากิ เป็นผู้ใหญ่บ้านที่เข้มแข็ง เป็นคนเอาการเอางานดีมาก ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในอำเภอจะรู้จักแกดี หากมีงานสำคัญ ๆ ในอำเภอก็มักจะเรียกใช้แกเป็นแม่งานหลัก ผู้ใหญ่กิ แกมีถิ่นกำเนิดอยู่ “ทางอีศาน”
“เมืองเลยฉันรักเธอ” เสียงแผ่นดิน สื่อสารสุขไทเลย
จังหวัดเลยเป็นเมืองที่ขึ้นชื่อในเรื่องของแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติภูเขาป่าไม้ที่สวยงามและยังเป็นเมืองที่มีวัฒนธรรมวิถีชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ ทำให้สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศให้หมุนเวียนกันเข้ามาเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดเลยอย่างไม่ขาดสาย
ผาพุงเมืองเลยผ่านเลนส์ : อะเมซิ่งใหม่สุดที่ต้องดูด่วนเลย
รักครั้งแรกประทับใจเสมอไม่มีวันลืมเลยสมัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมอยู่ที่โรงเรียนบ้านนานายกพิทยากร เห็นภาพครั้งแรกจากหน้าปกหนังสือ อสท. ใบเมเปิ้ลสีแดง จำภาพได้แม่น นึกในใจเมืองไทยสวยอย่างนี้เลยหรือ เลยสวยอย่างนี้จริง ๆ หรือเลย
คนสร้างพิณ พิณสร้างคน โดยอาจารย์ทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์
คนสร้างพิณ พิณสร้างคน เยี่ยมชมการผลิตดนตรีพื้นบ้านอีสานของอาจารย์ทรงศักดิ์ ประทุมสินธ์
จ.บุรีรัมย์ มีปราสาท|กู่โบราณสมัยขอม มากที่สุดในประเทศไทย
วันนี้เดินทางไปชื่นชม"ปราสาทโคกงิ้ว" อ.ปะคำ จ.บุรีรัมย์
ทีมช่างกำลังลุยปรับปรุง ทำงานกันมาได้ 4 เดือนแล้ว ภายในต้นปีหน้าคงเสร็จสมบูรณ์