ความทรงจำเกี่ยวกับจิตร ภูมิศักดิ์ โดย สุภา ศิริมานนท์
“...รู้จักกันหลังจากถูกโยนบกแล้ว ผมติดตามเขาอยู่เรื่อย เห็นเขาว่างอยู่เลยชวนไปทำไทยใหม่ด้วยกัน มาพร้อมกันกับทองใบ (ทองเปาด์) ต่อมาจิตรก็เข้าเรียนต่อ
“หนังสือติดดาว” : ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท
เราอาจคุ้นเคยกับคำว่า ผีแถน หรือแถน กระทั่งต้อง เคยอ่านผ่านตากับชื่อ รัฐไท-ไต อย่างแน่นอน แต่ หากไม่ใช่ผู้สนใจในเรื่องมานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ และภาษาศาสตร์แล้ว คำว่า ด้ำนับว่าน้อยคนนัก ที่จะรู้จัก และมีความสัมพันธ์เช่นไรกับคำว่า แถน และรัฐไท
ทางอีศาน 74 : สาวด้ำปางบรรพ์ : ‘ด้ำนาย-ด้ำปู่’ (6)
การศึกษาเรื่องใด ๆ ต้องมี “เครื่องมือ” (Device) และ “วิธีวิทยา” (Approach) ในการวิเคราะห์วิจัยและตีความหมาย ถ้ามีเครื่อง
มือดีและใช้วิธีวิทยาได้สอดคล้องกับสิ่งของ เรื่องราว และบริบทที่จะศึกษา ผลการศึกษาก็จะบรรลุเป้าหมาย
ทางอีศาน 70 : ปิดเล่ม
อนึ่ง ขอโปรดเข้าใจว่า การคลี่ภาพมายาคติเพื่อถอดรหัส ‘สัญญปริศนา’ ที่ค้างคาใจในงานเขียนชุดนี้ ผู้เขียนดำเนินการวิเคราะห์และตีความหมายอย่างลุ่มลึกก็จริง แต่กล่าวในเชิงกระบวนการการวิจัยนั้นเป็นการทำได้เพียง “ส่วนเสี้ยวหนึ่ง” ว่าด้วยเรื่อง “ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท” เท่านั้น
ทางอีศาน 69 : ปิดเล่ม
แวดวงธุรกิจต้อง “ดิ้น” กันเต็มที่ ส่วนหนึ่งดิ้นเพื่อให้อยู่รอดต่อไปได้ ส่วนหนึ่งซึ่งแม้เป็นยักษ์ก็ตามแต่ก็ต้องดิ้น เพราะยอดกำไรลดลงมากๆ เสียงกระซิบเบาๆ จากคน “วงใน” ของตลาดขายปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคจำเป็นในชีวิตประจำวันบอกว่า ยอดกำไรต่ำกว่าปี ๒๕๔๐ ที่เกิดวิกฤติต้มยำกุ้งเสียอีก!
“ความล่องคง” ประวัติศาสตร์ขับขานของชนชาติไท (๔)
การสืบสร้าง “มหากาพย์ชนชาติไท” ในงานเขียนชุดนี้ จะใช้ผลงานวรรณกรรมรูปแบบต่าง ๆ ที่รังสรรค์โดยชนชาวไทเป็นตัวตั้ง
จดหมาย
นิตยสารทางอีศานได้มอบความรักและเมตตาต่อผมและคณะ ในการจัดพิมพ์ “บันทึกการสำรวจวิถีชีวิตลุ่มน้ำเสียวใหญ่” ผมรู้สึกซาบซึ้งเป็นอย่างมาก จนไม่อาจที่จะสรรหาคำพูดใดมาพรรณนาได้
การเล่าดยั๊วของชนชาวลัวะ กับ ปกิณกะแม่นมสยาม
ในบทนี้ จะได้นำเอาเรื่องเล่า นิทาน ตำนาน และข้อห้าม ต่างเวลาต่างสถานที่กัน มาผูกเรียงร้อยเข้าด้วยกัน เพื่อชี้ให้เห็นตัวอย่างของกระบวนการเปลี่ยนผ่านสังคมที่เจ็บปวดรวดร้าว
นิตยสารทางอีศาน : ฉบับที่ 82
นิตยสารทางอีศาน:ฉบับที่ 82
The Dawn of the Tai วิธีวิทยาเจาะเวลาหา ‘ยุคเพรางาย’ ~ อรุณรุ่งของชนชาติไท (๓)
แม้วัน-เวลาจะเป็นสิ่งสมมติ...แต่มนุษย์เมื่ออยู่ร่วมกันเป็นสังคม จำเป็นต้องหมายรู้ กำหนดวาระสำคัญ นัดหมาย เพื่อพบปะกันทำกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน หนุ่มสาวบางคู่อาจมี “วันนัด” พบกันเปิดเผยในคืนเดือนเพ็ญ เช่นที่ผู้บ่าวไท-ไต-ลาว ไป “แอ่วสาว” ที่ตนหมายตาไว้