Tao Dialogue 5 บทสนทนาว่าด้วยเรื่อง ‘เต้า’ บทบาททางพิธีกรรม
‘เต้า’ ในฐานะภาชนะ บรรจุของเหลว เช่น น้ำ หรือเหล้า ฝรั่งคงนึกไม่ออกว่า ‘น้ำ’ มีความพิเศษเฉพาะอย่างไรในพิธีกรรม เมื่อมีการขุดพบศิลปะวัตถุโบราณ ที่บรรจุของเหลวได้ มักนิยามสิ่งนั้นว่า เป็น ‘wine container’
TAO Dialogue 1 เวทีสังสันทน์ ว่าด้วยเรื่อง “เต้า”
มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง “เต้าตามไต เต้าทางไท” กำลังใกล้จะสำเร็จเป็นรูปเล่มเพื่อให้บริการทางวิชาการแก่สาธารณชน โดยผู้เขียนทั้งสองถือเป็น ‘วิทยาทาน’ แก่สังคม
TAO Dialogue 2 “เต้า” สนทนา จากประสบการณ์อ่านวรรณคดี บนฐานคิด ‘มานุษยวิทยาสัญนิยม’
บนฐานคิดที่ว่า ‘ภาษา’ มีชีวพันธุกรรมต้นกำเนิด มีการแตกตัว เคลื่อนไหว เดินทาง กระจายตัว แม้ถูกกลืนกลาย ก็ยังสาวหารากร่วมได้ โดยการใช้ ‘กุญแจคำ’ ไขรหัสสิ่งที่เป็น ‘วัฒนธรรมร่วมเชื้อสาย’
รำลึก ๑๐๘ ปี อาจารย์สุภา ศิริมานนท์
# รำลึก ๑๐๘ ปี อาจารย์สุภา ศิริมานนท์ (๑๕ กรกฎาคม ๒๔๕๗ - ๑๓ มีนาคม ๒๕๒๙) "ถ้าเราเอาระดับความรอบรู้ลุ่มลึกของนักวิจารณ์เท่าที่มีอยู่ในเมืองไทยมาประกอบการพิจารณา ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า คุณสุภาอาจจะเป็นนักวิจารณ์ที่มีหนังสือครอบครองมากที่สุดคนหนึ่ง และได้ 'อ่าน' หนังสือที่ท่านครอบครองนั้นอย่างจริงจัง
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 122
ก้าวสู่ปีที่ ๑๑ นิตยสาร “ทางอีศาน”
ฉบับที่ ๑๒๒ ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๖๕
"ส่งขวัญครู...สู่สรวงสวรรค์"
ภาพปก : สมศักดิ์ มงคลวงศ์
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 121
นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๒๑ ประจำเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๕ ฉบับ ก้าวสู่ปีที่ ๑๑ ภาพปก : ไพบูลย์ ธรรมเรืองฤทธิ์
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 119
นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑๑๙ ประจำเดือนมีนาคม ๒๕๖๕
ฉบับ “ควรค่าประดับไว้เกียรติสตรี”
ภาพปก : สิริรัตน์ฎา น้อยวิชัย
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 117
นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑๑๗ ประจำเดือนมกราคม ๒๕๖๕
" ชื่นสดใส สุขี สวัสดีปีใหม่ "
ภาพปก : เพลิง วัตสาร
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 116
นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑๑๖ ประจำเดือนธันวาคม ๒๕๖๔ ฉบับ สนั่น ชูสกุล นักรบวัฒนธรรมผู้เสียสละกลางสนามรบ
“พลัง” ของแนวคิดสิทธิชุมชน
ผู้เขียนได้นำเสนอใน “ทางอีศาน” ฉบับก่อนว่า ฐานคิดเรื่องคุณค่าของแนวคิด “สิทธิชุมชน” มีความใกล้เคียงกับแนวคิด “วัฒนธรรมชุมชน” ที่มองชุมชนเป็นสถาบันสำคัญ มีกระบวนการภายในที่จะจัดการตนเองเพื่อความอยู่รอด แต่ในทางกระบวนการวิเคราะห์ชุมชนนั้น แนวคิดสิทธิชุมชนค่อนข้างให้ความสำคัญกับการศึกษาความขัดแย้งและการสร้างกติกาข้อตกลง การปรับดุลอำนาจภายในซึ่งเกิดขึ้นตลอดเวลาของชุมชน