Tag

ทางอีศาน69

ความยากจนและเครื่องชี้วัด

เรื่อง “ความยากจน” นั้น เมื่อจะพูดกันควรทำข้อตกลงกันไว้ก่อนให้ชัดเจน ว่าผู้พูดกำลังจะพูด “ด้านใด” ของเรื่องความยากจน และความหมายเรื่อง “ความยากจน” ที่กำลังจะกล่าวถึง

การปั้นพระปางปฐมเทศนา

“คิดจากชิ้นเล็กก่อน คือเราตัวใหญ่ มุมมองสามารถมองแบบเครื่องบินที่บินวนเห็นรอบด้าน แม้ขนาดยังทำรายละเอียดได้ไม่เต็มที่ แต่จะเข้าใจเรื่องสัดส่วนเบื้องต้นได้ แล้วพอขยายขึ้น มาอีกระดับ เป็นเรื่องความแม่นยำแล้ว หน้าอก คอ สะโพก ขา เข่า สามารถปรับได้ชัด ดูสัดส่วนเพื่อป้องกันพลาด เพราะถ้าขยายใหญ่เลย ผิดพลาดจะแก้ยากมาก”

“จึงความจนก็งาม…แค่ความพอ”

“จึงความจนก็งาม…แค่ความพอ” กวี และจะยังคงยิ้มอย่างอิ่มหวังในเรือนรังแห่งสุขอย่างทุกหนแม้รู้โลกเคลื่อนเวียนและเปลี่ยนวนจึงความจนก็งามแค่ความพอ ไม่เคยบอกหรอกว่าจะคว้าดาวแค่รู้ร้อนรู้หนาวไว้ก้าวต่อ...
Read More

หูก กับ กี่ ต่างกันหรือไม่?

มีผู้สงสัยถามว่าคำว่า “กี่” ในคำว่า “กี่ทอผ้า” ไทยยืมคำนี้มาจากใคร จีนหรือมอญ – เขมร ตอนแรกผมก็คิดว่าคนตระกูลไทไม่ว่าจะเป็นกลุ่มไหนน่าจะมีศัพท์เฉพาะ “หูก” ProtoTai *truk D แต่ผมต้องเปลี่ยนความคิดเมื่อไปค้นในหนังสือ 傣语方言硏究 เขียนโดย Zhou Yaowen และ Luo Meizhen ในนั้นมีศัพท์คำว่า 织布机 [zhībùjī] หรือหูกทอผ้า

วัฒนธรรมแถน : อ่านเอกสารชั้นต้นกันก่อน (๑)

เรื่อง “พญาแถน” เป็นตำนานที่ชนเผ่าไท-ลาว ทั้งกลุ่มไทน้อยและกลุ่มไทใหญ่มีร่วมกันเรื่องพญาแถนยังเป็นต้นเค้าของวัฒนธรรมไท-ลาวดั้งเดิม (ก่อนรับพุทธศาสนา) ทั้งในด้านวิถีชีวิตประจำปีและด้านการเมืองการปกครอง

ลุ่มแม่น้ำโขงยุคก่อนประวัติศาสตร์ในตำนานอุรังคธาตุ

ยุคประวัติศาสตร์เริ่มต้นเมื่อมนุษย์มีการจดบันทึกเรื่องราวเป็นลายลักษณ์อักษร สำหรับดินแดนลุ่มแม่น้ำโขงแล้วน่าจะเริ่มต้นประมาณพุทธศตวรรษที่ ๗ เป็นต้นมา ซึ่งหมายความว่าก่อนหน้านั้นเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์

ทางอีศาน 69 : ปิดเล่ม

แวดวงธุรกิจต้อง “ดิ้น” กันเต็มที่ ส่วนหนึ่งดิ้นเพื่อให้อยู่รอดต่อไปได้ ส่วนหนึ่งซึ่งแม้เป็นยักษ์ก็ตามแต่ก็ต้องดิ้น เพราะยอดกำไรลดลงมากๆ เสียงกระซิบเบาๆ จากคน “วงใน” ของตลาดขายปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคจำเป็นในชีวิตประจำวันบอกว่า ยอดกำไรต่ำกว่าปี ๒๕๔๐ ที่เกิดวิกฤติต้มยำกุ้งเสียอีก!

ตาม “ลาว คำหอม” ไปเยี่ยมชายแดนใต้ (ตอนที่ ๑)

นานมาแล้วมีคณะครูได้พาเด็ก ๆ ใน ๓ จังหวัดชายแดนใต้กลุ่มหนึ่ง มาพบลุง “ลาว คำหอม” ที่ไร่ธารเกษม เด็ก ๆ วิ่งเล่นกันอย่างสนุกสนาน ส่งเสียงกรี๊ดกร๊าดตามประสาเด็ก แต่เมื่อเวลาจะจากกันเด็ก ๆ ไม่อยากไป มีเด็กคนหนึ่งเข้ามากอดลุงแล้วร้องไห้บอกว่า “หนูไม่อยากกลับบ้าน หนูอยากอยู่กับคุณตาทีนี่” สะเทือนใจผู้ได้ยิน โถ! บ้านหนูผู้ใหญ่เขาห้ามไม่ให้ออกไปวิ่งเล่นนอกบ้านอย่างเสรีซินะ

ชูอาวุธ – “วัฒนธรรม” ขึ้น

ท่ามกลางความ “เน่าใน” ของทุกระบบสถาบัน ส่งผลให้สังคมไทยเสื่อมทรุดลงทุกด้านช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนยิ่งถีบห่างความต่างทางความคิดของผู้คนไกลกันดั่งฟ้ากับก้นเหว อาวุธที่คนเล็กคนน้อยจะใช้ต่อสู้เพื่อปากท้อง และเทิดศักดิ์ศรีความเป็นคนของตนในห้วงเวลานี้ คือ “งานวัฒนธรรม”
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com