Tag

ทางอีศาน81

“เมรุนกหัสดีลิงค์” อริยะประเพณีในแผ่นดินอีสาน

คติการปลงศพด้วยนกของชาวอุษาคเนย์ มีหลักฐานทางโบราณคดียืนยันได้ว่ามีมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ดังปรากฏภาพพิธีกรรมส่งผีขวัญที่มีองค์ประกอบภาพที่สำคัญ คือภาพนกอยู่บนหน้ามโหระทึก ด้วยเหตุที่คนโบราณเชื่อว่า นกเป็นสัตว์ที่สามารถเดินทางไปบนฟ้า อันเป็นดินแดนที่มนุษย์ในยุคบรรพกาลเชื่อว่าเป็นที่ตั้งของเมืองแถน ซึ่งเป็นโลกศักดิ์สิทธิ์ในคติทวิภูมิ ก่อนที่คติไตรภูมิจากชมพูทวีปจะแพร่เข้ามาในดินแดนอุษาคเนย์เมื่อประมาณ พ.ศ.๑๐๐๐

หมาน

การดำเนินชีวิตของชาวอีสานนั้น ค่อนข้างจะเรียบง่าย การทำมาหากินตามทุ่งนา ป่าเขา ห้วย หนอง คลอง บึง ล้วนแต่เป็นแหล่งอาหารที่อุดมสมบูรณ์ และคนอีสานกินได้สารพัด พืชผักตามท้องไร่ท้องนา ข้างรั้วบ้านมีให้เลือกกินได้อย่างสบาย ยิ่งเป็นพวกแมลงก็เป็นอาหารของชาวอีสานเกือบทุกชนิด เห็ดที่ขึ้นตามป่าหรือตามท่อนไม้ คนอีสานเลือกกินได้ทั้งนั้น แม้ในกระเป๋าไม่มีเงินสักบาทคนอีสานก็ไม่อดตาย

คำโตงโตย : “ฮ้อนกว่าไฟ ใสกว่าแก้ว แล้วก่อนทำ”

ฮ้อนกว่าไฟ ได้แก่ใจ ปกติของใจ นึกจะ ทำอะไรก็อยากจะทำเร็ว ๆ อยากจะให้เสร็จ เร็ว ๆ ที่ว่าไฟฮ้อนก็ไม่ฮ้อนเท่าใจ เพราะไฟ ธรรมที่ว่าร้อน ก็เผาได้แต่เฉพาะกาย ไม่เผาใจ ได้ ส่วนไฟคือใจร้อนนี้ มันเผาทั้งร่างกายและ จิตใจ เมื่อใจร้อนแล้วกายวาจาก็พลอยร้อนไป ด้วย

เมืองนครจำปาศักดิ์ – ๒ –

อาณาเขตนครจำปาศักดิ์เวลานั้นมีว่า “ทิศเหนือตั้งแต่ยางสามต้นอ้นสามขวาย หลักทอดยอดยัง ” อันเป็นเขตของจันทรสุริวงศ์รักษา ทิศตะวันออกถึงเขาแดนญวน (หรือเขาบรรทัดก็เรียก) ทิศตะวันตกจดลำน้ำกระยุงหรือที่เรียกกันว่า “ห้วยก๊ากวากปากกระยุง” คือแดนเมืองพิมายเป็นเขตแดนท้าวจารย์แก้วรักษา

ศก ศักราช กับ ไตศักราช (๒)

มิติ ‘กาลเวลา’ นั้น สำคัญไฉน... การติดตามทำความเข้าใจเรื่องราวของ ผู้คน ชุมชน ชนชาติ ประเทศ และโลกทั้งโลก ยากที่จะแยกออกจากบริบทที่สำคัญอย่างน้อยที่สุดสองบริบท คือ บริบทของมิติกาลเวลา (Time) กับ บริบทของพิกัดสถานที่ (Space) เงื่อนเวลา (knots of time)

The Tai Era เบิกฟ้าปีใหม่ไท ไตศักราช (๑)

วันนี้ (เสาร์ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๑) คือ วันขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๑ วันนี้คือวันขึ้นปีใหม่ของชาวไททั้งมวล ยิ่งไปกว่านั้น ชาวกรุง (ไทย) คุ้นชินกับปี พ.ศ. (พุทธศักราช) นักวิชาการ (ไทย) จำนวนไม่น้อยก็ถนัดที่จะบรรยาย เขียน สอนลูกศิษย์ และอ้างอิงด้วยปี ค.ศ. (คริสต์ศักราช) แต่ท่านทราบไหมว่า ชาวไทใหญ่มีการใช้ “ปี ต.ศ. (ไตศักราช)” ร่วมกัน

ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน ตอนที่ 3

จารย์บุญเห็นเพื่อนดิ้นรนจนปัญญา จึงได้แต่กล่าวเตือนออกไปว่า... เซื้อซาดจ่อง คันจ่องยังกะหุบ  ซาตาหลุบหลูบลงคือจ้อง ยามเมื่อซาตาขึ้น ขวางเป็นขอนก็ยังล่อง คาดสิล้ม มือหยุ้มหญ้ากะบ่พัง เสี่ยวเอย... จารย์แก้วคิดได้ฉับไวสมกับเป็นผู้สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า ก็กล่าวท้าชายฉกรรจ์เหล่านั้นว่า จงมาพิสูจน์กัน ข้าขอท้าสู้กับพวกเอ็ง เพื่อให้เห็นว่าผู้มีสัจจะย่อมไม่ตาย ตกน้ำไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้

อาหารพื้นบ้านกับการถนอมอาหาร ความลับที่ไม่ลับในจานบ้านเฮา

พื้นที่ที่ฉันอยู่เป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ในเขตตำบลหนึ่งของจังหวัดนครราชสีมา ผู้คนที่นี่ยังมีวิถีการดำรงชีวิตการกินอยู่อย่างเรียบง่าย สิ่งที่ช่วยในการชูรสอาหารของที่นี่ เรียกได้ว่าแทบจะใส่ในทุกจานเลยก็ว่าได้ สิ่งนั้นก็คือ ปลาร้า หรือปร้า อันถือได้ว่าเป็นยอดมงกุฎแห่งอาหารอีสานตลอดกาล

อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : บุกดอยนันทกังฮี – ๓ (๗)

รอยพระพุทธบาทที่นี่แม้เป็นรอยที่เกิดโดยธรรมชาติ แต่แตกต่างจากที่เคยเห็นมาเป็นอันมาก คือ เป็นรอยเท้าขนาดใหญ่ แต่ปลายนิ้วทั้ง ๕ ดูคล้ายกับลื่นไถลนิดหน่อยก่อนจะฝากรอยจมลึกลงในโคลน ทาด้วยสีทอง

การอ่านหนังสือพาโลกซุ่มเย็น

ม หัศจรรย์อ่านให้ คุณค่าวรรณศิลป์ ห ฤทัยหรรษา ม่วนมวลอักษรฟ้อน กรรม ดีพาเพียรฮู้ ปัญญาญาณซอด หนัง เนื้อในมนุษย์ล้วน เลิงล้ำศาสตรศิลป์ สือ ลายคำสืบค้น บันทึกบันเทิง

คำโตงโตย

“ฮ้อนกว่าไฟ ได้แก่ใจ ปกติของใจ นึกจะทำอะไรก็อยากจะทำเร็ว ๆ อยากจะให้เสร็จเร็ว ๆ ที่ว่าไฟฮ้อนก็ไม่ฮ้อนเท่าใจเพราะไฟธรรมที่ว่าร้อน ก็เผาได้แต่เฉพาะกาย

“ผ้าลายหางกระรอก” – “ตำเมี่ยงสะคร่าน” ที่ภูผาม่านขอนแก่น

ภูผาม่าน เป็นอำเภอหนึ่ง ของจังหวัดขอนแก่น อยู่ติดเขตกับจังหวัดเลยและจังหวัดเพชรบูรณ์ อำเภอเล็ก ๆ แห่งนี้มีเสน่ห์มากมาย ไม่ใช่แค่เพียงถ้ำค้างคาว ภูเขาที่มีลักษณะสูงชันสลับซับซ้อนจนดูเหมือนม่าน

(๑๓) “ความเชื่อเรื่องแถน กับ นาฏพิธีหมอลำผีฟ้าพญาแถน”

สภาพสังคมวัฒนธรรมคนไท-ลาวสมัยก่อนนั้นมีการนับถือผีอย่างแนบแน่น จนอาจเรียกว่า ถือ “ศาสนาผี” (ผีแถน หรือ ผีฟ้า) ก็ว่าได้

ม า ย า ก ล

ประดับแล้วประกายไฟประโลมไล้ ณ เวที กระโจนจิกจะโจมตีก็ผู้กล้าประดากล จะกุมเสกตระกองกำจะร่ายรำทะมึนมนตร์ และคลังห้องจะล่องหนมลายลับไปกับตา
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com