ผญา – ยอดวรรณกรรมอีสาน
ผญา เป็นสำนวนคำพูดที่ไพเราะ คมคายลึกซึ้ง สละสลวย คนอีสานนั้นเป็นคนมีโวหาร เจ้าบทเจ้ากลอน พูดจาเป็นคำคม มีสัมผัสคล้องจอง
ไพเราะ น่าฟัง ไม่ว่าจะเป็นโอวาท คำสั่งสอน คำตักเตือน ห้ามปราม หรือคำเกี้ยวพาราสีของหนุ่มสาวอีสานในอดีต สมัยโบราณนั้นคนอีสานมักพูดเป็นสำนวนภาษาแบบผญาเป็นส่วนมาก
วีรภาพในโศกนาฏกรรม
เดินหน้าฆ่าคนมือเปล่า มีบั้งเติมดาวบนบ่า
เบี้ยเลี้ยงเงินเดือนเหลือคณา อาวุธยุทโธปกรณ์
คำผญา (๑)
“มีเงินเต็มภาชน์ บ่ท่อมีผญาเต็มปูม”
มีเงินเต็มสำรับ ไม่เท่ามีปัญญาเต็มภูมิ
อีสาน ในประวัติศาสตร์และวรรณกรรม
อีสาน ภูมิภาคที่มีภาพลักษณ์ที่ไม่รื่นรมย์ในการรับรู้และทัศนะของผู้คนภายนอกพื้นที่ และถูกตอกยํ้าด้วยวาทกรรมจากงานวรรณกรรม งานเขียนประวัติศาสตร์ แต่ด้วยความกว้างใหญ่ของพื้นที่ ๆ มีเขตติดต่อกับเพื่อนบ้านที่มีระยะทางยาว ทำให้มีทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมหลากหลาย เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ ทั้งด้านการพัฒนา การค้า การเมือง
คำโตงโตย
ฮูปแต้มเรื่อง “เจ้าเมืองพะโคยกทัพมาประชิดเมืองพาน” จากนิทานประจำถิ่นเรื่อง อุสาบารส (จ.อุดรธานี, จ.หนองคาย) แสดงเหตุการณ์เมื่อครั้งนางอุสาได้พาท้าวบารสมาซ่อนไว้ที่หอคำ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแนวคิดสตรีนิยมนักคิดสตรีนิยม และสตรีนิยมสายต่าง ๆ
แม้ เพลโต (Plato) นักปรัชญากรีก เคยกล่าวถึงความเท่าเทียมทางสังคมระหว่างผู้หญิงและผู้ชายอันเป็นรากฐานของรัฐที่ดีงามในหนังสือชื่อ อุตมรัฐ (The Republic)