ฟันดาบไทย-ลาว การละเล่นใน “สมุทรโฆษคําฉันท์”

มหรสพ (entertainment) หรือการละเล่น (amusement) ของสยามในอดีตส่วนใหญ่สูญหายไม่มีแสดงกันแล้วในสังคมทั่ว ๆ ไป หลักฐานที่จะสืบค้นหาได้คือ พวกเอกสารประวัติศาสตร์, วรรณคดีและภาพจิตรกรรมฝาผนัง เป็นต้น

เบอร์เดียวกัน

พ่อเฒ่ามินกับลูกเขยชื่อบักวินับว่าเป็นพ่อเฒ่ากับลูกเขยที่สวรรค์จัดมาให้ ถูกคู่กันจริง ๆ มีหลายเรื่องที่พ่อเฒ่ากับลูกเขยคู่นี้ ได้สร้างวีรกรรม หรือใช้วาทกรรมต่อกันให้ชาวบ้านได้ฟัง และครึกครื้นกันมาอยู่บ่อยครั้ง พ่อเฒ่ามินเป็นทนายความ วาทะหรือคารมคมคายก็ไม่ใช่ธรรมดา ปั้นนํ้าให้เป็นตัวก็ยังได้ส่วนบักวิผู้ลูกเขยมันเคยเป็นครูมาก่อน คารมครูวิก็ไม่ธรรมดาเหมือนกัน ครูสาวหลงคารมมันมานักต่อนักแล้ว

ว่าด้วย เงือก (๓) คติความเชื่อเรื่องเงือกของชาวไทในเวียดนามและลาว จากเอกสารภาษาไทย

แหล่งข้อมูลเรื่อง “เงือก” ส่วนสำคัญที่สุด คือ คติความเชื่อและลายผ้าของชาวไท – ไต ในเวียดนาม ที่มิได้รับอิทธิพลศาสนาพุทธ แม้ว่าข้อมูลที่นักวิชาการชาวไทยค้นคว้าเผยแพร่เป็นภาษาไทยจะยังมีไม่มาก แต่ข้าพเจ้าก็ขอนําเสนอข้อมูลเหล่านั้นเป็นเบื้องต้นก่อน

“ตามรอยวีรชนประชา ด้วยก้าวที่กล้า สโมสร’19”

เมื่อเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 ผ่านไปแล้ว 20 ปี เราจึงได้มาร่วมจัดงานรำลึกที่มีกิจกรรมทางการเมืองเป็นเนื้อหาหลัก ซึ่งรอบปีก่อนหน้านั้นจัดเพียงพีธีทางศาสนา

ส่อวีรชน [๖-จบบ่จบ]

พี่ซายคุณบอก... ถ้าน้องผมยังบ่ตายครอบครัวสิรุ่งโรจน์กว่านี้ คำเว้าเพิ่นประโยคนี้ถืกต้องอีหลี ซึ่งพวกเฮาอยากเพิ่มเติมว่า ด้วยความเสียสละของคุณทั้งสองและวีรชนคนกล้าทั้งเหมิด ที่ได้เป็นแบบอย่าง เป็นแรงศรัทธา แรงบันดาลใจให้แก่คนรุ่นหลัง ให้ตระหนักฮู้และร่วมกันลุกขึ้นสู้ สังคมไทยต้องเปลี่ยนแปลง คนไทยเฮา ประเทศไทยเฮาต้องรุ่งโรจน์แน่นอน

เงินตราโบราณ ในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๑๑)

เงินตราที่ได้เข้ามามีบทบาทในดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขง หรือดินแดนภาคอีสานในปัจจุบัน เมื่อราวร้อยกว่าปีที่แล้ว นอกจากเงินตราของสยามที่เป็นเหรียญแบนซึ่งผลิตในสมัยรัชกาลที่ ๕ แล้ว ยังมีเงินตราอีกหลายประเภทที่เข้ามามีบทบาทเป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนของคนลาวฝั่งขวาแม่น้ำโขงหลังเกิดเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com