ทางอีศาน ฉบับที่ 141

นิตยสาร “ทางอีศาน”

ฉบับต้อนรับปีใหม่

สู่ ข วั ญ สุ ว ร ร ณ ภู มิ
ฉบับที่ ๑๔๑ ปีที่ ๑๒ ประจำเดือนมกราคม ๒๕๖๗
เรื่องเด่นในฉบับ
0 ขวัญ แม่มุงเมือง สายด้ำเสือกับวาทกรรม ‘เสือตาย เสือแทน’ | ชลธิรา สัตยาวัฒนา
0 ขวัญ รากความเชื่อของผู้คนในสุวรรณภูมิ | พิพัฒน์ กระแจะจันทร์
0 “ขวัญ” ความคิดคํานึง | “เสรี พพ”
0 งันขอน เรียกผีขวัญ งันเฮือนดี ส่งผีขวัญ | ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ
0 ขันหมากเบ็งจ์ พาขวัญ : หัตถกรรมในพิธีเกี่ยวกับขวัญของชาวอีศาน | สถิตย์ ภาคมฤค
0 รื่นรมย์กับบรรยากาศงานสู่ขวัญสุวรรณภูมิ~มหากาพย์ชนชาติไท “เต้าตามไต เต้าทางไท” | ดุษฎี ปัญญา
0 บทกวี | ชลธิรา สัตยาวัฒนา, ชาตรี เสงี่ยมวงศ์, มหาจัน อินทุพิราด, ไชสุวัน แพงพง, “จินตรัย”, ปรีดา ข้าวบ่อ, “ไพฑูรย์ ธัญญา”, เจน สงสมพันธุ์, กานต์ ลิ่มสถาพร, “แม่น้ำ เรลลี่” และฟังบทเพลง”หมาเก้าหาง”
ภาพปกโดย ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์
แบบปกโดย เกษมสุข ตันติทวีโชค

ราคาเล่มละ ๑๕๐ บาท
สมัครสมาชิก ครึ่งปี ๙๐๐ บาท
สมาชิกรายปี ๑,๕๐๐ บาท (จากราคาเต็ม ๑,๘๐๐ บาท)
ตลอดชีพ ๑๕,๐๐๐ บาท (ได้รับหนังสือย้อนหลัง)
สอบถามเพิ่มเติม/สั่งซื้อเข้ามาได้ทุกเวลาทาง

inbox หนังสืออีศาน m.me/166200246799901
line id : @chonniyom (มี@) คลิก https://lin.ee/amxqtvW
ชนนิยม https://www.thaibookfair.com/seller/chonniyom-eshann
ลาซาด้า https://www.lazada.co.th/shop/chonniyom/
shopee https://shopee.co.th/chonniyom2
ทั้งนี้นิตยสาร “ทางอีศาน” เปิดให้ผู้สนใจเข้าไปอ่านหัวข้อข่าว เรื่องราวเด่น ๆ หรือดาวน์โหลดใบสมัครสมาชิก รวมถึงร่วมเสนอความคิดเห็น อ่านรายละเอียดและสมัครเป็นสมาชิกได้ที่ https://e-shann.com/
ขอขอบคุณที่ร่วมสร้าง “ทางอีศาน” เพื่อสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน และเพื่อประคับประคองงานหนังสือให้ยืนหยัดอยู่ได้ ดูน้อยลง