อยู่รอดปลอดภัยในวันไวรัสเปลี่ยนโลก
ประเทศมหาอำนาจและการเมืองหา เรื่องกันไปว่าไวรัสตัวนี้จะเกิดที่ไหน ไม่ว่าเมือง จีน อเมริกา หรือยุโรป ไม่ว่าในตลาดสดหรือ ในห้องแล็บ ที่แน่ ๆ มาจาก “ฝีมือมนุษย์”
ปลดปล่อยจากอำนาจที่ครอบงำ
อันโตนิโอ กรัมชี (Antonio Gramsci 1891-1937) ผู้ร่วมก่อตั้งและผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์อิตาลี ถูกฟาสซิสต์ของเผด็จการมุสโสลินีจับหาว่า “ทำลายชาติ” “อยู่เบื้องหลังวางแผนฆ่าผู้นำประเทศ” ถูกพิพากษาจำคุก ๒๐ ปี แต่ติดคุกไม่ถึงสิบปีก็ถึงแก่กรรม
ปีที่ไวรัสเปลี่ยนโลก โควิดผู้สยบอหังการมนุษย์ สู่นิวนอร์มอลไทย
โคโรนาไวรัสไม่ใช่เรื่องใหม่ มีมาเตือนก่อนหน้านี้แล้ว คือ SARS (2004) และ MERS (2012) แต่ที่ใหม่และคาดไม่ถึงคือ ความร้ายแรงของการระบาดที่ไปทั่วโลกทุกประเทศ ทุกเขตพื้นที่มีที่มนุษย์อยู่ เร็วและแรงจนมนุษย์ที่เก่งกาจแค่ไหน มีวิชาความรู้และเทคโนโลยีดีเพียงใดก็เอาไม่อยู่
บางส่วนจากข้อเขียนเรื่อง “นิติรัฐนิติธรรม” โดย เ ส รี พ ง ศ์ พิ ศ
“...ความล้มเหลวของการพัฒนาระบบเศรษฐกิจฐานรากมาจากการไม่เข้าใจ “ฐานราก” ของสังคมไทย มองข้ามความสำคัญตลอดมา ไม่เคยให้ความสนใจ “ทุนท้องถิ่น” ที่เป็นทุนทรัพยากร ทุนทางสังคม ทุนทางปัญญา ซึ่งเป็น “ศักยภาพ” ที่หากได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจริงก็จะเป็นพลังสำคัญและเป็นฐานรากให้สังคมไทยได้
มองโลกเข้าใจไทย (เปรียบเทียบไทยกับ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และเยอรมนี) โดย เ ส รี พ ง ศ์ พิ ศ
การเมืองเป็นสถาบันเหมือนสถาบันต่าง ๆ ทางสังคม มีระบบ ระเบียบ กฎเกณฑ์ กลไก ที่สั่งสมมานาน บางสถาบันหลายพันปีอย่างสถาบันศาสนา สถาบันทั้งหลายมีลักษณะอนุรักษ์ (conservative) อยู่ได้ด้วยกฎระเบียบที่ปกป้องตนเอง การเปลี่ยนแปลงในทุกสถาบันเกิดขึ้นยาก อาจมีการปฏิรูปบ้าง ถ้าเปลี่ยนใหญ่ทุกครั้งมักรุนแรง เพราะเป็นการปฏิวัติที่เปลี่ยนทั้งระบบโครงสร้าง
อีศานในสถานการณ์ไวรัส“โควิด-19” ลามระบาดทั่วโลก “ให้พี่น้องป้องปาย ซำบายดี ทุกผู่ทุกคน” – ไทลาว “บองปะโอน เซราะซะบาย คเนียนิจ” – ไทเขมร “เห้อพี้น้องป้องป๋าย ซ่ำบ๋ายดี๋ คู้คนเด้อ” – ไทผู้ไท “ให้อ้ายน้องป้องปาย สะบายดี สุคู่สุคนเด้อ” – ไทญ้อ ( 46 )
สิ่งที่จำเป็นเร่งด่วนบ้านเราไม่ใช่การไปฟื้นมหาวิทยาลัยที่จัดการศึกษาล้าสมัย แต่เป็นการให้ความรู้แก่ประชากรจำนวนมาก (digital info literacy) ให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้วยสื่อเทคโนโลยียุคใหม่ ชาวไร่ชาวนา คนชายขอบ ผู้ประกอบการนอกระบบ เพื่อ “เพิ่มอำนาจ” (empower) ให้ประชาชน
อีศานในสถานการณ์ไวรัส“โควิด-19” ลามระบาดทั่วโลก “ให้พี่น้องป้องปาย ซำบายดี ทุกผู่ทุกคน” – ไทลาว “บองปะโอน เซราะซะบาย คเนียนิจ” – ไทเขมร “เห้อพี้น้องป้องป๋าย ซ่ำบ๋ายดี๋ คู้คนเด้อ” – ไทผู้ไท “ให้อ้ายน้องป้องปาย สะบายดี สุคู่สุคนเด้อ” – ไทญ้อ ( 40 )
โควิด-19 มาให้บทเรียนประชาธิปไตยแก่โลก ทำให้คนต้องทบทวนเรื่องสิทธิเสรีภาพ ความสมดุลระหว่างเสรีภาพกับสุขภาพ ระหว่างเศรษฐกิจกับชีวิตของประชาชน ว่าจุดลงตัว จุดสมดุลอยู่ตรงไหน โดยไม่บิดเบือนข้อมูลข่าวสารให้ผู้คนกลัว ครอบงำเพื่อผลทางการเมืองและการใช้อำนาจ อย่างที่จีน รัสเซีย อิหร่านและอีกบางประเทศถูกวิจารณ์
(23) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (25-04-2020)
โควิด-19 อาศัยโลกาภิวัตน์แพร่กระจายไปทั่วโลกในเวลาอันรวดเร็ว คนเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศปีหนึ่ง 1.5 พันล้าน ไปทุกประเทศ ยังไม่ได้นับท่องเที่ยวในประเทศ เดินทางด้วยความเร็วของเครื่องบิน รถไฟความเร็วสูง รถยนต์
(21) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (21-04-2020)
ขอร้องคนรวยช่วยคนจน ไม่ว่าจะขอเงินหรือขออะไร รวมไปถึงขอความคิดเห็น กลายเป็นประเด็น เพราะมีคำถามมากมาย ที่ส่วนใหญ่ไม่ถามธรรมดาแต่วิพากษ์วิจารณ์รุนแรงเป็น “รัฐบาลขอทาน” ด้วยบรรยากาศกดดันจากพรบ.ฉุกเฉิน ความทุกข์จากโรคระบาด ขาดรายได้ ไม่มีจะกิน
(20) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (17-04-2020)
หลายประเทศเริ่มคลายล็อค แต่ด้วยความระมัดระวัง อ้างว่า ตัวเลขไม่พุ่งขึ้น เพิ่มแบบชะลอตัว จึงคาดว่าน่าจะเลยจุดสูงสุดไปแล้ว ไม่รู้ว่าปลอบใจตัวเองหรือไม่ เพราะในความเป็นจริง แม้จำนวนเพิ่มจะน้อยกว่าวันก่อนหน้านั้น แต่ก็เป็นจำนวนมาก ทั้งผู้ติดเชื้อและผู้เสียชีวิต
ข้อเสนอต่อรัฐบาล ผ่าน ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม
ผมเห็นด้วยกับนโยบายการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ในขณะนี้ของรัฐบาล แต่จากความสับสนวุ่นวายที่เกิดขึ้น การคัดกรองผู้มีสิทธิ์ได้รับ ซึ่งยากที่จะหลีกเลี่ยงหรือแก้ปัญหาได้เพราะข้อจำกัดของข้อมูลบุคคลในอาชีพต่างๆ ผมจึงขอเรียนเสนอต่อรัฐบาลผ่านท่านรัฐมนตรีสุวิทย์ เมษินทรีย์ โดยเป็นข้อคิดที่มาจากการศึกษา “รายได้พื้นฐานถ้วนหน้า” (Universal Basic Income : UBI) ที่รัฐบาลหลายประเทศกำลังประยุกต์ใช้อยู่ในขณะนี้ มีข้อเสนอดังนี้
(19) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (14-04-2020)
UBI universal basic income คือ รายได้พื้นฐานถ้วนหน้า กำลังได้รับความสนใจจากประเทศต่างๆ อย่างจริงจัง ล่าสุด คือ สาส์นของพระสันตะปาปาฟรันซิสถึงผู้นำขบวนการทางสังคมทั่วโลกในวันปาสกาที่ผ่านมา มีประเด็นนี้ที่เนื้อหาน่าสนใจมาก เชื่อว่าจะมีผลต่อแนวคิดนี้อย่างสำคัญ
(18) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (13-04-2020)
“เรามีนัดกับประวัติศาสตร์” “อย่าพลาดที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลกันสมัครสมานสามัคคี” ประโยคแรกเป็นของจูเปซเป คอนเต นายกรัฐมนตรีอิตาลี ประโยคหลังเป็นของพระสันตะปาปาฟรันซิส ในสาส์นวันปาสกา
(17) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (10-04-2020)
โครงการวิจัยนี้มีชื่อว่า Covid-19 Case Cluster Study ที่เยอรมันมีงานวิจัยซึ่งน่าจะเป็นที่เดียวในโลก ที่ไม่รอให้โรคระบาดจบแล้วค่อยทำ แต่ทำทันทีตั้งแต่วันนี้ เพื่อศึกษาว่า โควิด-19 ระบาดอย่างไรตั้งแต่แรกเริ่มและพัฒนามาอย่างไร จะติดตามไปทุกระยะอย่างใกล้ชิด วิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยชุมชนเป้าหมายมีส่วนร่วม
(16) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (08-04-2020)
ปัญหาเศรษฐกิจระหว่างการระบาดของโควิด-19 ก็หนักหนาแล้ว จะสาหัสมากกว่าอีกเมื่อโรคร้ายนี้ผ่านไป นี่เป็นการคาดการณ์ของผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจสังคม ทำให้รัฐบาลประเทศต่างๆ นอกจากจะหาทางเยียวยาระหว่างนี้แล้ว ยังต้องเตรียมรับมือกับ “เผาจริง” หลังจากนี้