อัปสราศีขรภูมิ : บ้าน ๆ สะท้านทรวง
“ห้องศิลป์อีสาน” ฉบับที่แล้ว เล่าให้ฟังว่าที่ซุ้มประตูปราสาทศีขรภูมิ อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ มี “เทพทวารบาล” หรือเทพผู้รักษาประตูปราสาท หรือประตูวิมาน กำลังยืนกุมไม้กระบองอยู่ข้างนวลน้องอัปสรา หรือ “เทพอัปสร” ชนิดที่ผมนึกไม่ออกจริงๆ ว่าถ้าผมต้องมายืนเฝ้าปราสาทอยู่ใกล้สาวงามปานนี้
เมืองเสือพยัคฆภูมิพิสัย “ชื่อน่ากลัวแต่ตัวน่ารัก”
อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม เป็นเมืองเก่าอีกเมืองหนึ่งที่น่าเรียนรู้และน่าศึกษาค้นคว้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งมีร่องรอยความเป็นเมืองโบราณหลายแห่ง แถมยังมีการขุดพบวัตถุโบราณเป็นจำนวนมากและมีพื้นที่บางส่วนของอำเภออยู่ในเขตทุ่งกุลาร้องไห้แหล่งปลูกข้าวหอมมะลิชื่อดังอีกด้วย
โลกเปลี่ยน เรียนรู้ อยู่รอด
โลกวันนี้เปลี่ยนไปเร็วมาก เร็วจนคนจำนวนมากตามไม่ทัน เมื่อตามไม่ทันก็เกิดปัญหาตามมาและนี่น่าจะเป็นไปตามทฤษฎีวิวัฒนาการของชาร์ลส์ ดาร์วิน ที่ว่า “คนที่จะอยู่รอดได้ไม่ใช่คนที่แข็งแรงที่สุด หรือฉลาดที่สุด แต่เป็นคนที่ปรับตัวได้ดีที่สุดต่างหาก”
การเขียนหนังสือ
เขียนบทความนี้ด้วยความระลึกถึง สนั่น ชูสกุล กัลยาณมิตรผู้จากไป คนใต้แต่หัวใจอีสาน รักสายลมแสงแดด ไม่ดูถูกคนจน ทํางานช่วยเหลือคนทุกข์ คนยากตั้งแต่เรียนจบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ก่อนเป็น “อีสาน” และเจ้าแก้วมงคลสร้างเมืองทุ่ง (ตอนจบ)
จากความตอนแรกจะเห็นได้ว่า เมื่อสิ้นกษัตริย์ที่เข้มแข็งแล้วอาณาจักรล้านช้างต้องพบกับการจลาจล การแย่งชิงราชสมบัติ และด้วยเหตุนี้อาณาจักรล้านช้างจึงแตกแยกออกเป็น ๓ อาณาจักร ถูกสยามที่มีความเข้มแข็งทั้งทางด้านทหาร เศรษฐกิจ อาวุธยุทโธปกรณ์เข้าครอบครองและผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งในเวลาต่อมา
ข้าว มะพร้าว กัญชา
คนไทยถูกฝรั่งหลอกมาหลายปีอย่างน้อย ๓ เรื่อง คือ ข้าว มะพร้าว กัญชา ที่หลอกได้เพราะเขาครอบงำความคิดคนไทยมานาน ด้วยอิทธิพลของ “อารยธรรมตะวันตก” ที่แพร่เข้ามาสู่ตะวันออกและเมืองไทยหลายร้อยปีที่ผ่านมา
ฮูปแต้มวัดไชยศรี บ้านสาวะถี
วัดไชยศรีตั้งอยู่บ้านสาวะถี หมู่ที่ ๘ ตำบลสาวะถีอําเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น สร้างโดยชาวบ้านสาวะถีเมื่อ พ.ศ.๒๔๐๘ เรียกกันว่า “วัดใต้” พระอุโบสถเดิมเป็นสิมแบบพื้นบ้านอีสาน บูรณะเป็นแบบสถาปัตยกรรมภาคกลางเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๕ แต่ยังรักษาฮูปแต้มเดิมไว้ได้บางส่วน
ตํานานพระธาตุในลุ่มแม่นํ้าโขง
ความตั้งใจในการเสนอให้องค์ “พระธาตุพนม” ศาสนสถานสําคัญแห่งลุ่มแม่นํ้าโขงเป็น “มรดกโลก” เป็นกระแสที่น่าจับตามองและทําความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราวของพระธาตุพนม ศาสนสถานที่ตั้งตระหง่าน ณ ดอยกัปปนคีรีหรือ ภูกําพร้า ตามที่ปรากฏใน “ตํานานอุรังคธาตุ”
วรรณกรรมคนคุก วรรณกรรมวิจารณ์ แนวสัญญะ|สังคม~สัจจนิยม (Semiotic Social Realism) #จิตรภูมิศักดิ์
บทสรุปการวิจารณ์ ต้นกำเนิด 'ดวงใจ ในแดนฟ้า' ถือว่าเป็นเรื่องเล่าปรัมปรา (Myth) มีลักษณะตรงตามนิยามความหมายของคำว่า 'Myth' คือ "เป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมานานจากรุ่นสู่รุ่น
บุญผะเหวด : บุญมหาชาติงานช้างในหัวใจศรัทธาชาวอีศาน
ก่อนวันเทศน์มหาชาติหนึ่งวัน เรียกกันว่า วันโฮม หรือ วันรวม ตอนเช้าผู้อาวุโสของหมู่บ้านได้ทําพิธีเชิญพระอุปคุตจากหนองนํ้า ใกล้วัดมายังบริเวณพิธีงานเทศน์มหาชาติด้วยมีความนับถือพระอุปคุตและเชื่อกันว่าพระอุปคุตซึ่งมีฤทธานุภาพในการปราบพญามาร สถิตอยู่ใจกลางมหาสมุทรสะดือทะเล จะป้องกันภยันตรายและบันดาลดลให้งานนั้นสําเร็จลุล่วงด้วยดีงานใหญ่ ๆ ทั้งหลายจึงมีการอัญเชิญพระอุปคุตมาไว้ ณ บริเวณพิธีด้วยประการฉะนี้
กลองยาวอีสาน
“กลอง” เป็นสิ่งเสพงัน เป็นสิ่งบันเทิงเป็นสิ่งปลุกเร้าและเป็นสิ่งบูชาแก่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ เป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของคนทั่วโลก ในต่างประเทศเขาจะมีงานประชันกลองนานาชาติ แสดงถึงเทคนิคในการตีกลอง การละเล่นกลองเนื่องในงานต่าง ๆ อันเป็นวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติ
วัฒนธรรม อาวุธคนยาก
วัฒนธรรมไม่ใช่เพียงเรื่องประเพณี การทำบุญ การร้องรำ แต่เป็นวิถีชีวิต เป็นความสัมพันธ์ทางกาย ใจ สังคม สิ่งแวดล้อมรวมกันเป็นความเชื่อ ความรู้ ปัญญา คุณธรรม ความไว้ใจที่ร้อยรัดผู้คนให้เป็นหนึ่งเดียว เป็นพี่เป็นน้อง เป็นครอบครัว เป็นชุมชน ที่ทำให้เผ่าพันธุ์อยู่รอด
บุญบั้งไฟ : ไร้รากเหง้า แต่จะเอาดอกผล
บุญบั้งไฟ เป็นบุญประเพณีประจำเดือน ๖ ตามฮีตสิบสองเดือนของชาวอีสาน แต่เดิมนิยมเรียกกันว่า “บุญเดือนหก” ซึ่งหากท่านไปร่วมชมขบวนแห่บั้งไฟในปัจจุบัน นอกจากจะตระการตากับบั้งไฟที่ประดับตกแต่งอย่างยิ่งใหญ่สวยงามแล้ว สิ่งที่ขาดไม่ได้ประกอบขบวนคือ “ท้าวผาแดงกับนางไอ่คํา” ที่นั่งมาบนม้าบักสามตามนิทานพื้นบ้านเรื่อง “ผาแดง – นางไอ่” ที่อธิบายสาเหตุการล่มสลายของเมืองหนองหารหลวง ดูเหมือนว่าวรรณกรรมเรื่องผาแดงนางไอ่ จะเป็นเรื่องเล่าคู่กับบุญบั้งไฟอย่างแยกไม่ออก
สงครามยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษที่ 20 วันเริ่มต้นสิ้นสุดยุคอาณานิคมโลก [ 2/2 ]
ข้าพเจ้าปลื้มปีติดีใจใคร่บอกข่าวให้บรรดาสหายว่า เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม กองทัพประชาชนที่กล้าหาญของพวกเราได้บดขยี้ทหารศัตรูทั้งหมดที่เดียนเบียนฟู เป็น 21 กองพันทหารประจำการ รวมหนึ่งหมื่นหกพันสองร้อยคน ปลดปล่อยดินแดนเขตตะวันตกเฉียงเหนือทั้งหมด
รำลึกครบรอบ 68 ปี “ศึกเดียนเบียนฟู” ที่กองทัพเวียดนามมีชัยต่อกองทัพฝรั่งเศส
รำลึกครบรอบ 68 ปี "ศึกเดียนเบียนฟู" ที่กองทัพเวียดนามมีชัยต่อกองทัพฝรั่งเศส (7 พฤษภาคม พ.ศ.2497 - 7 พฤษภาคม พ.ศ.2565) สงครามยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษที่ 20 วันเริ่มต้นสิ้นสุดยุคอาณานิคมโลก