กลอนบทละคร (๒)
เจ้าสตรีที่แต่งเรื่องอิเหนาและดาหลังในสมัยอยุธยาคือ เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ พระราชธิดาของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ดูจากคำกลอนข้างต้น ก็น่าจะคิดว่า เรื่องอิเหนาและดาหลังที่ทรงแต่งไว้นั้นเป็นบทละคร และต้องแพร่หลายเป็นที่นิยมมาก
อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : ที่จุดเริ่มต้นคือที่สุดท้าย – ตอนจบ
หลังกลับจากนมัสการพระธาตุหัวอก ฉันได้เริ่มเขียนบันทึกการพเนจรตามรอยบาทพระเจ้าเลียบโลกฉบับอีสาน เวลาล่วงผ่านจากฤดูร้อนครั้งนั้นบัดนี้มองผ่านหน้าต่างห้องช่อดอกคูนกลับมาบานอีกรอบแล้ว
เครื่องเบญจรงค์
เบญจรงค์ แปลว่า ห้าสี จึงนิยมเรียกเครื่องเคลือบที่มีห้าสี หรือมากกว่า ว่า เครื่องเบญจรงค์
บุรีรัมย์
“บุรีรัมย์ตํานํ้ากิน” อยู่ในความทรงจําและความภาคภูมิใจในอดีตของชาวบุรีรัมย์ในฐานะที่เป็นคําพังเพยอันแสดงถึงความยากลําบากและทรหดอดทนของบรรพบุรุษผู้บุกเบิกแผ่นดินให้ประโยชน์ตกทอดแก่ลูกหลาน เหลน ในปัจจุบัน และในฐานะที่นําความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติมาใช้ประโยชน์แก้ปัญหาการขาดแคลนนํ้าได้อย่างเฉลียวฉลาด
น้ำเต้า
“วัฒนธรรม” ก่อกำเนิดมาจากวิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งมีรูปแบบการผลิตเป็นตัวหลัก คนเราทำมาหากินอย่างไร วัฒนธรรมก็งอกเงยจากสภาวะนั้น
ชนเผ่าในอาเซียนเลี้ยงชีพด้วยการเพาะปลูกข้าวเป็นหลัก
ทำไมจึงมีพิธีบวงสรวงเสาเอกบ้าน (เสาขวัญ) และแตดหอย
รุ่งเช้าจารย์สีทองก็ไปหาไม้ไผ่มาสานไซ (เครื่องมือดักสัตว์น้ำเป็นปลาขนาดเล็ก ใช้งานในแหล่งน้ำไหลไม่ลึก ตรงช่องระบายน้ำเข้าออกตาม
ห้วย บึง ลำคลอง คันนา) และหากวักเตรียมไว้ (กวัก คืออุปกรณ์กรอด้ายสมัยโบราณ) ภรรยาจึงถามว่า “พ่อไม่ปลูกเรือนหรือวันนี้ไหนว่าจะปลูกบ้านวันนี้ล่ะ...?” จารย์สีทองบอกภรรยาว่า “ไม่... วันนี้ยังไม่ปลูกดอก นอนเมื่อคืนนี้ได้ฝันว่า พระอินทร์ท่านได้
มาบอกวิธีปลูกบ้านใหม่แล้ว ท่านบอกว่าให้สานไซและหากวักเอาไว้ที่เสาแรกเสาขวัญก่อน ความเป็นมงคลจึงเกิดกับผู้อยู่อาศัยในเรือนหลังนี้ เคารพและเชื่อไว้ก่อนก็ไม่น่าจะเสียหายอะไร”
รำลึก ๑๒๙ ปีชาตกาล และกึ่งศตวรรษอสัญกรรม “ลุงโฮ” วีรบุรุษแห่งอัมนัม (๒)
“...ปวงชนชาวเวียดนามต่างสำนึกร่วมกันแล้วว่า พวกเขาได้ต่อสู้เพื่อจบสิ้นความขมขื่นที่บรรดานักล่าอาณานิคมฝรั่งเศสได้ทำไว้ และบัดนี้เราได้ชัยชนะของชาติกลับคืนมาแล้ว...”
เมืองฟ้า : สวรรค์ของคนอีสาน
“...สวรรค์บ้านนาอยู่ไหน ๆ ไม่รู้อะไร ใครมองไม่เห็น บ้านนาสวรรค์ทั้งเป็น ๆ โปรด มองให้เห็นนะจะเป็นความสุข ไม่เหมือนความ ทุกข์ของคนในบาร์ ๆ ...”
เมืองนครจำปาศักดิ์ – ๒ –
อาณาเขตนครจำปาศักดิ์เวลานั้นมีว่า “ทิศเหนือตั้งแต่ยางสามต้นอ้นสามขวาย หลักทอดยอดยัง ” อันเป็นเขตของจันทรสุริวงศ์รักษา ทิศตะวันออกถึงเขาแดนญวน (หรือเขาบรรทัดก็เรียก) ทิศตะวันตกจดลำน้ำกระยุงหรือที่เรียกกันว่า “ห้วยก๊ากวากปากกระยุง” คือแดนเมืองพิมายเป็นเขตแดนท้าวจารย์แก้วรักษา
ศก ศักราช กับ ไตศักราช (๒)
มิติ ‘กาลเวลา’ นั้น สำคัญไฉน... การติดตามทำความเข้าใจเรื่องราวของ ผู้คน ชุมชน ชนชาติ ประเทศ และโลกทั้งโลก ยากที่จะแยกออกจากบริบทที่สำคัญอย่างน้อยที่สุดสองบริบท คือ บริบทของมิติกาลเวลา (Time) กับ บริบทของพิกัดสถานที่ (Space) เงื่อนเวลา (knots of time)
The Tai Era เบิกฟ้าปีใหม่ไท ไตศักราช (๑)
วันนี้ (เสาร์ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๑) คือ วันขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๑
วันนี้คือวันขึ้นปีใหม่ของชาวไททั้งมวล ยิ่งไปกว่านั้น ชาวกรุง (ไทย) คุ้นชินกับปี พ.ศ. (พุทธศักราช)
นักวิชาการ (ไทย) จำนวนไม่น้อยก็ถนัดที่จะบรรยาย เขียน สอนลูกศิษย์ และอ้างอิงด้วยปี ค.ศ. (คริสต์ศักราช)
แต่ท่านทราบไหมว่า ชาวไทใหญ่มีการใช้ “ปี ต.ศ. (ไตศักราช)” ร่วมกัน
แซ่บนัว หัวม่วน
เป็นที่เชื่อถือกันมาช้านานว่าปัจจัยสี่อันประกอบด้วย อาหาร ยารักษาโรค ที่อยู่อาศัย และเครื่องนุ่งห่ม เป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญในการดำรงชีวิต นอกจากนี้ ปัจจัยสี่ยังเป็นสิ่งบ่งชี้ถึงวิถีวัฒนธรรมที่ปรุงปรับสอดรับกับสภาพธรรมชาติแวดล้อมที่มนุษย์ตั้งถิ่นฐาน ปัจจัยสี่จึงให้ภาพสะท้อนสำคัญของการดำรงชีวิตมนุษย์ในวิถีธรรมชาติ
ฮีตเดือนอ้าย
คำว่า “อ้าย” แปลว่า หนึ่ง, กก, ก่อน เดือนอ้ายเป็นเดือนแรกในฮีตสิบสองงานบุญประจำเดือนเดือนอ้ายสังฆเจ้าเข้ากรรม ส่วนเดือนยี่หาฟืนมาไว้แล้วตั้งข้าวจี่ในเดือน ๓ เป็นประเพณีที่เก่ามาอย่างนี้ แต่ความจริงแล้วไม่ได้เป็นเช่นนี้
ข้าวโพด หรือข้าวสาลี
เมื่อเริ่มเขียนถึงข้าวโพด ก็ทำให้นึกถึงสมัยเด็ก ได้ยินแม่นมร้องเพลงขับกล่อมว่า
วัดเอยวัดโบสถ์ ปลูกข้าวโพดสาลี
พอลูกเขยตกยาก แม่ยายก็พรากลูกสาวหนี
ความคิดตอนเป็นเด็กก็เลยคิดว่า ข้าวโพดกับข้าวสาลีเป็นข้าวอย่างเดียวกัน
อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : บุกดอยนันทกังฮี – ๓ (๗)
รอยพระพุทธบาทที่นี่แม้เป็นรอยที่เกิดโดยธรรมชาติ แต่แตกต่างจากที่เคยเห็นมาเป็นอันมาก คือ เป็นรอยเท้าขนาดใหญ่ แต่ปลายนิ้วทั้ง ๕ ดูคล้ายกับลื่นไถลนิดหน่อยก่อนจะฝากรอยจมลึกลงในโคลน ทาด้วยสีทอง