มะละกา : จารึกผ่านรอยจำ น้ำตา และสายเลือด
แม้นมิอาจเดินทางไปสัมผัสอาณาเขตของโลกมลายูได้ทั้งหมด “มะละกา” ที่ข้าพเจ้าได้สัมผัสกลับนับเป็นหนึ่งในแหล่งกำเนิดสำคัญของความเป็นมลายู นอกจากเป็นหนึ่งในต้นธารการก่อเกิดของคำ “โลกมลายู” แล้ว ยังเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า ๖ ศตวรรษ
ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน ตอนที่ 1
ฝ่ายพ่อของบุญ และฝ่ายพ่อของหนุ่มแก้ว เห็นพร้อมกันกับคนเฒ่าคนแก่ของหมู่บ้านให้จัดพิธี แฮกเสี่ยว ระหว่างบุญกับแก้ว
อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : พญานาคเกเรแห่งรอยพระพุทธบาท หมายเลข ๓ (๔)
หลวงพ่อเจริญเจ้าอาวาสวัดป่าแห่งหนึ่งในอำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ที่ฉันให้ความเคารพเคยบอกไว้ตั้งแต่ยังเป็นเพียงเด็กสาวอ่อนเดียงสา เพราะเห็นว่าชอบอ่านนิทานพื้นบ้านตำนานต่าง ๆ ราวกับท่านได้เล็งเห็นว่าหากมีวิชาความรู้ก็เหมือนมีทรัพย์ที่จะได้ใช้ในอนาคต
หลวงพ่อคูณ : เทพเจ้าด่านขุนทด ในความทรงจำ
แม้ว่าร่างกายสังขารวิญญาณ พระเทพวิทยาคม หรือหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ จะสลายร่างลับล่วง แม้เถ้าถ่านก็ละลายไปกับสายแม่น้ำโขง ทำไมพระบ้านนอกธรรมดา ๆ องค์หนึ่งจึงยังคงอยู่ในหัวใจอยู่ในความทรงจำของพุทธศาสนิกชน
ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน – บทนำ
“ทวดคือพ่อของปู่” สีโหเอ่ยชื่อบรรพบุรุษ “จารย์บุญคือ ทวดของปู่เฮือง...”
“ถูกต้องแล้ว” แกบอกสีโห “ผมคือหลานแท้ ๆ ของจารย์แก้วกับย่าแพง”
อุรังคธาตุ-นิทานพเนจร : สู่เมืองหนองหานหลวง (๓)
แม้ในวันเดินทางจะมีฝนหลงฤดูตกกระหน่ำลงมาในช่วงเดือนธันวาคม แต่อุปสรรคเพียงแค่นี้ก็ไม่สามารถทำลายความตั้งใจในการไปนมัสการรอยพระพุทธบาทของฉันได้
ทำไมอำเภอวังสามหมอ จึงได้ชื่อว่าวังสามหมอ
ในแผ่นดินสมัยนี้แดนดินถิ่นวังสามหมอยังเป็นป่ารกทึบ มีขุนเขา ลำห้วย มากมาย ยากที่จะหาผู้ใดมากล้ำกรายได้ จึงไม่มีผู้ใดรู้จัก จนกระทั่งหน่วยล่าจระเข้ของพระยาสุทัศน์ แห่งเมืองท่าขอนยาง มาพบเข้า
รับรู้อารยธรรมลุ่มแม่น้ำโขง สืบสาวอารยชนพงศ์เผ่าไท-ไต
เนื่องจากมีผู้อ่านชาวเวียดนามสนใจโพสต์นี้กันมาก และขอให้เขียนย่อเป็นภาษาอังกฤษ โดยแจ้งว่า อ่านพบชื่อและการอ้างงานเขียนของอาจารย์ชลในหนังสือวิชาการของเวียดนามซึ่งกำลังถกเถียงโต้แย้งกันในเรื่องที่มาของ “ความเป็นเวียด vs ความเป็นไท”
รำลึก ๑๒๙ ปีชาตกาล และกึ่งศตวรรษอสัญกรรม “ลุงโฮ” วีรบุรุษแห่งอัมนัม (๑)
นับย้อนหลังพุทธศักราช ๒๕๖๒ ไปกึ่งศตวรรษ หรือ ๕๐ ปี ตรงกับวัน ๒ กันยายน ๒๕๑๒ เป็นวันเวลาแห่งการสูญเสียครั้งสำคัญของประชาชาติเวียดนาม เมื่อมีข่าวยืนยันว่าท่านประธานาธิบดีโฮจิมินห์ หรือที่ชาวเวียดนามเรียกขานด้วยความเคารพนับถือท่านดั่งญาติสนิทว่า “บัคโห่” หรือ “ลุงโฮ” ถึงแก่อสัญกรรมแล้วในวัย ๗๙ ปี
การศึกษา “ประวัติศาสตร์ไทย” จาก “ข้อมูลลายลักษณ์” สู่ “เวทีการแสดง” ของนักศึกษาวิชาชีพครู
การทำงานละครในครั้งนี้ อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาเป็นเจ้าของงานอย่างแท้จริง โดยนำองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนการสอน รวมถึงค่ายละครมาใช้ทำงานจริง
ลมหายใจแห่งอดีตที่ “นราธิวาส-เบตง”
“แบปา” ผู้ซึ่งได้พบเจอและเป็นผู้บอก
เล่าข้อมูลพื้นฐานของชาวพื้นเมืองดั้งเดิมแห่งโลกมลายูให้ได้รับรู้ เป็นคนที่ นายสมศักดิ์ คณาคำ นายอำเภอจะแนะ ช่วยประสานให้ครั้งที่ข้าพเจ้าเดินทางไปขอข้อมูล ณ ที่ว่าการอำเภอจะแนะ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ถือเป็น “ข้อต่อ” สำคัญที่ทำหน้าที่เชื่อมผู้คนในอดีตกับปัจจุบันให้ได้เจอกัน
ตราด คลอง แตระ
ตอนนี้จะเด่นอักษร “ต” ได้แก่ ตราด (หมู่ ๑๐ ตำบล/อำเภอไพรบึง จ.ศรีสะเกษ) ตราด (หมู่ ๑๔ ต.โคกสะอาด อ.ปราสาท จ.สุรินทร์)
ผู้ใหญ่ เล่าให้ฟัง
ข้อเท็จจริงจะเป็นอย่างไร ขอให้ฟังไว้เป็นเรื่องเล่าก็แล้วกัน สมัยก่อนคนไทยจะพูดถึงเรื่องยศถาบรรดาศักดิ์ เรื่องศักดินาสถาบันไม่ได้ ถึงได้ก็กระซิบกระซาบในกลุ่มคอเดียวกัน...
มรดกความเปลี่ยนแปลง
ทุกวันนี้มนุษย์ส่วนใหญ่มองเห็นและเข้าใจความสำคัญของประวัติการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น.. บางเผ่าพันธุ์มนุษย์ก็มีหลักฐานเรื่องราวย้อนอดีตไปได้ยาวไกล แต่บางเผ่าพันธุ์ก็ย้อนอดีตไปได้ไม่ไกล
ทำไมจึงได้ชื่อว่าแก่งคุดคู้และภูควายเงิน
ในยุคนั้นเองมีหญิงวัยกลางคนหนึ่งเป็นโสดเป็นชาวหลวงพระบางเขต
ดินแดนประเทศลาวปัจจุบัน มีอาชีพทำไร่ทำนาเป็นหลักและมีควายอยู่ตัวหนึ่งไว้ไถนา ได้ปล่อยควายตัวนี้ไปหากินหญ้าตามยถากรรมที่ทุ่งนา