ชายเป็นใหญ่ : จาก “แถน” สู่ “เทพ”*
สำหรับกรณีของวิถีวิวัฒน์สังคมบรรพชนไท|ลาว|สยาม นั้น เป็นที่ประจักษ์จากหลักฐานประวัติศาสตร์ทางภูมิปัญญาว่า ในระยะต่อมา บทบาท อำนาจ และบารมีของผู้นำที่เป็น ‘บรรพบุรุษ’ ได้รับการหนุนเสริมขึ้นสู่ “ความเป็นแถน” (ฟ้า) ตามด้วย “ภาวะแห่งเทพ” (เทวราชา แบบพราหมณ์|ฮินดู) ในพื้นภูมิหลายแห่ง โดยเฉพาะอาณาจักรสมัยทวารวดี ลพบุรี อโยธยา ต่อเนื่องด้วยอยุธยา
“ด้ำเสือ”
“การศึกษาเรื่องราวความเป็นมาของชาวไต โดยเริ่มจากการวิเคราะห์บทเพลงขับขาน “ความล่องคง” ของชาวไทใหญ่ รวมถึงการคัดสรร คำกล่าว คำพังเพย คติพื้นบ้าน ตำนาน สายด้ำ โดยให้ความสำคัญกับสายตระกูล “เสือ” เป็นหลัก ใน มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง ว่าด้วยการ “เต้าตามไต|เต้าทางไท” เพื่อสะท้อนให้เห็นวิถีไทห้วงก่อนประวัติศาสตร์ และประวัติศาสตร์ยุคต้นของสังคมชนชาติไท
“ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท” เป็นการสาวรกรากต้นตอคนไท|ไต|ลาว|สยาม|ไทย ผ่าน “สัญญปริศนา”
“ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท” เป็นการสาวรกรากต้นตอคนไท|ไต|ลาว|สยาม|ไทย ผ่าน “สัญญปริศนา” ในภาพชุดประติมากรรมบนฝากลองมโหรทึกและหม้อใส่เบี้ยของอาณาจักรเตียนในยูนนาน โดยอาศัยแนวคิดทฤษฎี “อรรถปริวรรตกรรม”
(๑๕) อีแม่นางกวัก บรรพสตรียุคปางด้ำนาย ของชุมชนชาวไท
วิถีชุมชนไทยปัจจุบัน ไม่ว่าจะเดินเหินไปย่านใดก็จะพบ ‘นางกวัก’ กวักมือเรียกทักทายเราให้เข้าไปซื้อหาสินค้าอันเป็นสิ่งต้องประสงค์
การเล่าดยั๊วของชนชาวลัวะ กับ ปกิณกะแม่นมสยาม
ในบทนี้ จะได้นำเอาเรื่องเล่า นิทาน ตำนาน และข้อห้าม ต่างเวลาต่างสถานที่กัน มาผูกเรียงร้อยเข้าด้วยกัน เพื่อชี้ให้เห็นตัวอย่างของกระบวนการเปลี่ยนผ่านสังคมที่เจ็บปวดรวดร้าว
(๑๓) “ความเชื่อเรื่องแถน กับ นาฏพิธีหมอลำผีฟ้าพญาแถน”
สภาพสังคมวัฒนธรรมคนไท-ลาวสมัยก่อนนั้นมีการนับถือผีอย่างแนบแน่น จนอาจเรียกว่า ถือ “ศาสนาผี” (ผีแถน หรือ ผีฟ้า) ก็ว่าได้
(๑๒) “เชิญลงเยอ เชิญเจ้าลงเยอ… เชิญนางแต่งฮูปี่ฮูแคน ลูกสะแนนให้ดังถูกต้อง”
ในบทนี้ จะชี้ให้เห็นว่า บรรพสตรีไท-ลาว แต่ดั้งเดิมมีความสำคัญเพียงใดในศิลปะดนตรี
อาทิเช่น การเป็น “ครูช่างแคน” และการเป็นผู้นำในนาฏพิธีต่าง ๆ เช่น “หมอลำผีฟ้า”
ความพยายามนี้มิได้ประสงค์จะโน้มนำไปสู่แนวทัศนะแบบ Liberal Feminism
“หนังสือติดดาว” : ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท
เราอาจคุ้นเคยกับคำว่า ผีแถน หรือแถน กระทั่งต้อง เคยอ่านผ่านตากับชื่อ รัฐไท-ไต อย่างแน่นอน แต่ หากไม่ใช่ผู้สนใจในเรื่องมานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ และภาษาศาสตร์แล้ว คำว่า ด้ำนับว่าน้อยคนนัก ที่จะรู้จัก และมีความสัมพันธ์เช่นไรกับคำว่า แถน และรัฐไท
(๗) ความหลากเลื่อนของภาษา กับความหมายของคำ “ใหญ่-ยาย-นาย”
เราได้เคยถกแถลงกันเรื่องความหลากเลื่อนของภาษาตามแนวคิดของแดริด้า-นักคิดแนวรื้อสร้างผู้เรืองนามชาวฝรั่งเศสมาบ้างแล้ว โดยเริ่มจากคำว่า “ด้ำ” ซึ่งเป็นคำไทดั้งเดิม ต่อมาได้กลายเสียงเป็น “ด้าม” จากชื่อโคตรวงศ์ “หมื่นด้ำพร้าคต” เพี้ยนไปเป็น “หมื่นด้ามพร้าคด”