บทที่ 7 บทเรียนล้ำค่า
ชีวิตกําลังดําเนินไปอย่างสวยงาม ดอกไม้บานเต็มสวนหน้าบ้าน ต้นดอกพุดหลังบ้านชูช่อบานไสวเต็มต้น ส่งกลิ่นหอมมาแต่ไกล ฉันนั่งมองดอกไม้ ต้นไม้ อย่างมีความสุข
ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๒๖
กรณีวิกฤต “โรคห่าตำปอด” ที่ลามระบาดไปทั่วโลกร่วม ๓ ปีนั้น แหละแล้ววันคืนที่ทุกคนรอคอยก็มาถึง ต้องบันทึกไว้ว่าเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขประกาศยกเลิกโรคโควิด-19 จากโรคติดต่ออันตรายเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวัง มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ นี้เป็นต้นไป
ภาพฝัน โดย สมคิด สิงสง
ผมตั้งชื่อสวนว่า “วนเกษตรอินทรีย์วิถีคนกับควาย เฮือนดินตีนภู” เพราะมันเป็นพื้นที่ทำการเกษตรแบบผสมผสาน ในเนื้อที่ ๓๐ ไร่ที่พ่อแม่แบ่งปันให้เป็นที่ทำกิน
บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๓)
ปัจจุบัน ‘กวีนิพนธ์ชาติพันธ์ุวรรณนา’ ได้รับความสนใจมากขึ้นในฐานะเป็น ‘ศาสตร์’ ที่ได้รับอิทธิพลจากทั้งวิชาคติชนวิทยา มานุษยวิทยา และวัฒนธรรมศึกษา ตามแนวคิดหลังสมัยใหม่
บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๒)
อีกหนึ่งตัวอย่าง ที่ดูง่าย ๆ แต่ก็ลึกซึ้ง คือบทกวีที่มีชื่อว่า “เล่นนอก” เป็นบทกวีที่ผู้เขียนชื่นชอบมากเป็นพิเศษอีกบทหนึ่ง
คอลัมน์ จดหมาย
หลายปีนานมาแล้ว วันหนึ่งผมขึ้นเวทีอภิปรายบรรยายร่วมกับ “พ่อเล็ก กุดวงศ์แก้ว” ผู้นำอินแปง ผู้ซึ่งจะพูดเป็นภาษากะเลิง หรือภาษาอีสานแนวหนึ่งโดยไม่ผสมไทย เขาบอกว่า “ผมได้ยินคนพูดคำว่าวิสัยทัศน์มาบ่อยมาก ไม่เข้าใจแปลว่าอะไร ผมคนบ้านนอกจบแค่ ป.๔ แต่เมื่อฟังบ่อยเข้าก็เลยคิดเองว่า อ้อ มันคือสิแป๋ว่า ส่องซอด นั่นเอง” แล้วแกก็หัวเราะดังตามสไตล์คนอารมณ์ดี
บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๑)
ผู้เขียน อ่าน “ทาง” ผลงานรวมบทกวีของ “ปรีดา ข้าวบ่อ” จบเล่มรวดเดียวเมื่อราวสามสี่ปีก่อน เพื่อใช้พูดสดในงานประชุมเสวนาทางวรรณกรรมครั้งหนึ่งของนิตยสารทางอีศาน ที่ไร่จิมทอมป์สัน ซึ่งคุณปรีดา ข้าวบ่อ บรรณาธิการทางอีศาน ได้ใช้โอกาสนั้นเปิดตัวหนังสือรวมผลงานกวีของตนเอง ชื่อว่า “ทาง”
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 126
“สมคิด สิงสง ๖ รอบวงปีนักษัตร กึ่งศตวรรษคนกับควาย” นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๒๖ ประจำเดือนตุลาคม ๒๕๖๕ ภาพปก : สมคิด สิงสง
ภ า ษ า : มงกุฎวัฒนธรรม
ภาษาคือสุดยอดการสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรมของผู้คน ในแต่ละยุคแต่ละชุมชนทางการค้าผู้คนจากหลากหลายเผ่าพันธุ์จะรับรองใช้ภาษาหลักสื่อสารร่วมกัน เจ้าอาณานิคมเข้าครอบครองแผ่นดินใดได้เบ็ดเสร็จเด็ดขาดก็ด้วยการลบกลืนภาษาถิ่นนั้นให้สิ้นซาก อารยชนใดด้อยค่าปล่อยทิ้งภาษาของตนก็จะเป็นเช่นผงธุลีที่ปลิวคลุ้งให้คนต่างด้าวท้าวต่างแดนเข้าเหยียบย่ำ