วัฒนธรรมแถน (๖) พิธีส่งแถน
“ส่ง” คือการทำพิธีสังเวย เพื่อส่งเครื่องบริโภคเครื่องบูชาไปถึงผู้มีอำนาจเหนือธรรมชาติ เมื่อคนหรือบ้านเมืองประสบเคราะห์กรรม ซึ่งไม่อาจจะรักษาหรือแก้ไขได้ตามปกติ เชื่อกันว่าผู้มีอำนาจเหนือธรรมชาติเป็นผู้ทำให้เกิดเคราะห์กรรมนั้น จึงส่งเครื่องสังเวยบูชาไปให้เพื่อขอความเมตตาช่วยให้คนหายจากการเจ็บป่วย พ้นจากความทุกข์ ช่วยให้บ้านเมืองพ้นจากภัยพิบัติต่าง ๆ
บทกวี โบยบินจากความกลัว
หรือคุณซ่อนตัวอยู่ในนั้น
ณ ที่มีความฟุ้งฝันขลาดเขลา
หลบเร้นใต้มุมอับสลัวเงา
มิอาจที่จะเอาชนะความกลัว
นานเท่านานลืมกาลเวลา
เคยไหม...เยี่ยมมองฟ้าถ้วนทั่ว
ถึงแดดสาดแสงไล่ความมืดมัว
หม่นหมองในตัวยังกักขังกลืนกิน
ที่นี่…เมืองบางขลัง : ปฐมบทแห่งชาติไทย
เมื่อกล่าวถึง “เมืองบางขลัง” ตำบลเล็ก ๆ ตำบลหนึ่งที่ซ่อนตัวอยู่ในพื้นที่อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย น้อยคนนักที่จะรู้จัก รู้ถึงประวัติความเป็นมาของเมืองโบราณแห่งนี้ เมืองที่ถือกำเนิดขึ้นมาร่วมสมัยกับเมืองเก่าสุโขทัย เมืองเก่าศรีสัชนาลัย เมืองที่ปรากฏอยู่ในหน้าประวัติศาสตร์อย่างกระท่อนกระแท่นแต่ก็ทรงไว้ซึ่งความสำคัญ
ผญาสมัย : ฝนเทวา
เทพเทวาเลาะเหล้น หาหลั่ง รินฝนเปิดป่องแปวนาคา ล่วงบน เบยฟ้าเมฆาทะมึนมั้ว อัวอล - หนเลื่อนคนแนมนำโง่นฝ้า คองถ้า ล่วงธาร
ทางอีศาน 74 : ข่วงบักจุก
"นี่ท่านเลขา..ชาวนาเขาส่งบั้งไฟขึ้นมาขอฝนอีกแล้ว ช่วยจัดการให้พวกเขาโดยเร็ว""พวกเขาขอเพิ่มอีกอย่างที่ไม่มีรัฐบาลไหนช่วยได้ เขาว่างั้น""ให้ช่วยอะไรอีกรึ""อยากได้ข้าวเกวียนละสองหมื่นพะยะค่ะ!"
บทกวี หินหายใจ
เมื่อหินไม่ใช่หิน
แอบซ่อนศิลปะเสริม
ธาตุแท้แต่ดั้งเดิม
ได้พูนเพิ่มเติมความหมาย
เหลือซากร่วมฝากทรง
ความสูงส่งแห่งผงทราย
แตกดับเกินลับหาย
แตกช่อลายขึ้นหายใจ
สาวคำม่วงรอรัก
...มีพล็อตเรื่องราวเกี่ยวกับสาวผู้ไทหลายเพลง บังเอิญคิดถึงคำพูดของแม่บ้านผู้ไทกาฬสินธุ์ที่อยากให้แต่งเพลงกาฬสินธุ์บ้าง ก็คิดหาพล็อตจะเริ่มจากไหนดี นึกถึงสาวผู้ไทคิดถึงผ้าไหมแพรวาต้นกำเนิดมาจากอำเภอ “คำม่วง” คิดประโยคแรกของเพลงขึ้นต้นได้ว่า “วิจิตรสดใส ผ้าไหมอำเภอคำม่วง พี่หลงใหลเหมือนใจโดนบ่วง ห้วงเหวรักเพียงได้ยิน”
“งันขอนผี” ผีสร้างคู่ ฟื้นประเพณี สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง
“แต่ก่อนงานศพไม่เหมือนปัจจุบัน ศพเราจะวางเอาไว้บนตะแค่ไม้หรือไม่ก็วางบนพื้นบ้านแต่ละหลังอยู่ห่างกันมาก ทำให้การเดินทางแต่ละครั้งนั้นก็จะเกิดความกลัว ไฟฟ้าก็ไม่มี มืดก็มืด มีเพียงตะเกียงเจ้าพายุนำทาง ดังนั้นพวกหนุ่มสาวแต่ก่อนจึงจะจับกลุ่มกันเดินทางไปบ้านงาน พอไปถึงบ้านงานบรรยากาศในงานก็น่ากลัวศพก็ไม่ได้อยู่ในโลงเพราะแต่ก่อนมันไม่มี มันจึงเกิดงันขอนผี และ งันเฮือนดีขึ้นมา”
ลานข่วงกวี : ผ้าไหมหนองปลาหมอ, บ้านเกิดเมืองนอน
สองมือพือพ่างอ้าง
ทางต่ำตามศิลป์
อวดองค์ลงลายมัด
หมี่ไหมมวลล้วน
ดีคนด้าม
งามหลายคนละต่ง
จินตนาการเลิกล้ำ
เห็นแล้วเล่าสะออน
คำโตงโตย ทางอีศาน 74
“ชาติที่เกวียนแปลงแล้วดูงามทุกสิ่งจริงแล้วงัวหม่อมพระนางบ่เทียมแก่ให้สะเทิ้นค้างอยู่เอง ดอกนา”โบราณ
พิณ แคน ซอ โปงลาง โหวด
พิณ แคน ซอ โปงลาง และโหวด เป็นดนตรีพื้นเมืองอีสานที่ใช้บรรเลงประกอบกับการละเล่นต่าง ๆ มีบทบาทเป็นที่นิยมของคนทั่วไปโดยเฉพาะ “แคน” ถูกยกให้เป็น “ราชาแห่งดนตรีพื้นเมืองอีสาน” “พิณ” เป็น “ราชินีแห่งดนตรีพื้นเมืองอีสาน”
เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย : ติดตาม
บักผองมันก็สั่งก๋วยเตี๋ยวเนื้อลูกชิ้นเส้นเล็กมา ๒ ชาม ไม่นานเกินรอก๋วยเตี๋ยวก็มาวางอยู่ตรงหน้า บักผองมันจัดช้อนกับตะเกียบยื่นให้พ่อเฒ่าพุฒิ“พ่อใช้ตะเกียบเป็นหือบ่?” บักผองถาม“บ่ถนัดป๋านได๋ว่ะ!” พ่อเฒ่าพุฒิว่า“ต้องลอง! เข้ามาเมืองมันต้องทันสมัย!”
เผยโฉมผู้สร้างปรากฏการณ์ ณ บ้านปิน
สถานีรถไฟบ้านปิน สถานีรถไฟขนาดเล็กระดับอำเภอ แต่โดดเด่นด้วยรูปทรงสไตล์ “เฟรมเฮ้าส์” แบบบาวาเรียน (BavarianTimber Frame House) ซึ่งเป็นที่นิยมมากในแคว้นบาวาเรียของเยอรมัน ผสมผสานเข้ากับเรือนปั้นหยาแบบไทย ๆ
น้ำแห่งชีวิต
น้ำคือชีวิต...เป็นคำพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ที่ล่วงลับไปแล้ว รับสั่งเมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๒๙
ว่าหลักสำคัญต้องมีน้ำไว้บริโภค น้ำใช้น้ำเพื่อการเพาะปลูกเพราะว่าชีวิตที่อยู่นั่น ถ้ามีน้ำอยู่ได้ ถ้าไม่มีน้ำคนอยู่ไม่ได้
ผ้าย้อมคราม กับสงครามกรุงทรอย
หนังฮอลลีวูดนี้ใช้เสื้อผ้าย้อมครามทั้งเรื่องจะเห็นนักแสดงหลัก ๆ ทุกคนแต่งตัวด้วยผ้าย้อมคราม เป็นผ้าจากจังหวัดสกลนคร ด้วยเหตุผลว่านอกจากสวยงามแบบคลาสสิกแล้ว ยังเป็นสีสันที่สะท้อนความ “โบราณและอมตะ”