คำฉันท์ (๖)

อเล่าถึงวรรณคดีอีสาน เรื่อง “นางแตงอ่อน” สักหน่อยหนึ่ง แม้ว่าฉันทลักษณ์เรื่องนี้จะเป็นโคลงลาว เหตุที่จำเป็นต้องกล่าวถึง เพราะวรรณคดีอีสานเรื่องนี้มีฉาก “การคล้องช้างเผือก” ด้วยบ่วงบาศเชือกปะกำ วรรณคดีภาคกลางที่บรรยายฉากการคล้องช้างไว้ละเอียดที่สุดคือเรื่อง “สมุทรโฆษคำฉันท์” เหตุที่กวีประพันธ์ฉากนี้ไว้ละเอียด น่าจะเนื่องจากพระราชนิยมของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงโปรดการคล้องช้างมาก ข้าพเจ้าเคยเขียนเล่าไว้ในคอลัมน์นี้ถึงห้าหกตอน

ผักปลูกในสารละลาย…มุมมองจากธรรมชาติ

ผักปลูกในสารละลายหรือ... รู้จักสิ... เขาเรียก “ไฮโดรโปนิกส์” ใช่ไหม อร่อยดีนะ เดี๋ยวนี้ราคาไม่แพง หาซื้อได้ทั่วไปแล้ว ตามตลาดนัดก็ยังมี

๓๖๕ น้ำพริกกับสวนรอบบ้าน – ๘. น้ำพริก ผกค. สูตร ๓ น้ำพริกส้มห้วยกับต้มหวายใส่ปู

ครั้งหนึ่งพักกินข้าวเที่ยงข้างห้วย เพราะแลเห็นกอหวาย มีกิ่งอ่อน ๆ เยอะ จึงก่อไฟต้มแกงกันสักหน่อย คนนึงไปตัดหวายมาปอก คนนึงไปหลก (ถอน ดึง) ตะไตร้น้ำ กับ ส้มห้วย อีกหลายคนพากันพลิกก้อนหินในห้วยเพื่อหาปูภูเขา

“กระโดน” สมานแผล บำรุงสตรี

ชื่ออื่นๆ : กระโดนโคก กระโดนบก ปุย ปุยกระโดน ผ้าฮาด หูกวาง ต้นจิก ฯลฯ ไม้ยืนต้นที่พบได้ทั่วไป ยอดอ่อนนำมาเป็นผักพื้นบ้าน ยอดสดจิ้มน้ำพริก กินกับขนมจีนปักษ์ใต้ ขนมจีนน้ำยา ฯลฯ

คำผญา (๘)

“งัวบ่กินหญ้าแสนสิข่มก็เขาหัก หมูบ่กินฮำแสนสิตีก็ดังเว่อ” วัวไม่กินหญ้าแม้จะกดเขาลงเขาก็หัก หมูไม่กินรำถึงจะตีจมูกก็แตกบาน

๓๖๕ น้ำพริก – ๒. น้ำพริกเบสิก (น้ำพริกมาตรฐาน)

จิ้มกับผักดิบแนมด้วยปลาทูทอด หรือปลาดุกย่างก็ได้ แต่น้ำพริกครกนี้ปลาอะไรก็คงไม่ดีเท่าปลาทูทอด ม.ร.ว.คึกฤทธ์ ฯ ท่านแนะว่าถ้าอยากให้น้ำพริกถ้วยนี้น่าสนใจ หรือตื่นเต้น หรือโรแมนติกขึ้นไปอีก ก็ต้องเอาเมล็ดมะเขือใส่ คือหามะเขือขื่นหรือที่เรียกว่ามะเขือเหนียว

‘หมูป่าเอาะเผือก’ สูตรเนื้อตุ๋นแบบอีสานของคุณปู่สู่คำนาง

ส่วนคำว่า “เอาะเผือก” หมายถึง การเอาะที่ชูรสด้วยเผือก แต่ถ้าชูรสด้วยหอม ก็เรียก “เอาะหอม” เน้นและย้ำว่า ให้เรียกชื่อวัตถุดิบหลัก ตามด้วยกรรมวิธีการทำให้สุก และปิดท้ายด้วยวัตถุดิบรอง

ข้าว มะพร้าว ตาล : เมรัยพฤกษ์ของไทย

เราไม่รู้แน่ชัดว่าเหล้าเกิดขึ้นเมื่อไร นิทานพื้นบ้านของไทยหลายท้องถิ่นกล่าวไว้คล้าย ๆ กันว่า มีเหล้าเกิดขึ้นจากการหมักของผลไม้ที่ตกค้างอยู่ในโพรงไม้ ตอนแรกก็เป็นลิงหรือสัตว์ป่ามากิน ต่อมามนุษย์ก็กินตาม กินแล้วก็เมาสนุกสนาน จนเลยเถิดเป็นโทษเป็นทุกข์ เล่าขานกันเป็นนิทานชื่อ “มูลละเหล้า” ชี้ให้เห็นเหตุอันควรละเลิกสุรา

คำโตงโตย

ฮูปแต้มเรื่อง “เจ้าเมืองพะโคยกทัพมาประชิดเมืองพาน” จากนิทานประจำถิ่นเรื่อง อุสาบารส (จ.อุดรธานี, จ.หนองคาย) แสดงเหตุการณ์เมื่อครั้งนางอุสาได้พาท้าวบารสมาซ่อนไว้ที่หอคำ

ทองกวาว/จาน ในมิติทางการแพทย์

ในฤดูฝนและฤดูหนาว ทองกวาวมีใบเขียว ดูกลมกลืนไปกับไม้อื่น ๆ รอบข้าง แต่ในตอนปลายฤดูหนาวต่อต้นฤดูแล้งเมื่อใบไม้ร่วง เป็นช่วงเวลาที่ทองกวาวมีสีสันสวยงามที่สุด โดดเด่นกว่าไม้ต้นอื่น ๆ ข้างเคียง ด้วยดอกสีส้มแดงอย่างที่เรียกว่า สีส้มอินเดีย (Indian orange) เต็มล้นกิ่งที่ปราศจากใบ การเป็นไม้ท้องถิ่นที่มีคนรู้จักดีเช่นนี้ น่าจะหมายถึงการมีคนรู้จักนำเอาส่วนต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลายด้วย

กลอนลำฮีต-คอง ประเพณีเดือนสิบเอ็ด

ความโอ่ : โอ่จักหน่อยเถาะยกนี้ให้น้องนี้พี่ฟังเสร็จ ประเพณีเดือนสิบเอ็ดแม่นบุญออกพรรษาสิ้นปวารณาครบไตรมาสสามเดือน จุดประทีปธูปเทียนในมื้อขึ้นสิบห้าคํ่าฟังธรรมพร้อมโอ่ละนอ...นวล ๆ เอย
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com