By

ปรีดา ข้าวบ่อ

วาระแห่งหมู่บ้าน

ประเทศไทยมีวาระแห่งชาติ วาระที่คนจำนวนเพียงหยิบมือจากศูนย์กลางอำนาจวางกำหนดกฎเกณฑ์ โดยใช้มุมมองของผู้ได้เปรียบ เต็มด้วยผลประโยชน์ อคติ และไร้ข้อเท็จจริงเป็นฐานและกรอบคิด

สื่อสารกันคลาดเคลื่อน

บริษัทยักษ์ใหญ่แห่งหนึ่ง ทำหนังสือถึงเจ้ากระทรวงที่ทรงอำนาจ ขออนุเคราะห์จัดสรรวัคซีนให้พนักงานและครอบครัว ในขอบเขตทั่วประเทศรวมจำนวนกว่า 70,000 คน บริษัทนี้มีกิจกรรมเอกอันหนึ่ง ได้แก่ตระเวนสอนให้ชาวบ้านรู้จักเศรษฐกิจและใช้ชีวิตพอเพียง

“๒๔ มิถุนา ๒๔๗๕” ต้นธารประชาธิปไตย

ความหอมหวนของแนวคิดรักชาติ รักประชาธิปไตย ปรารถนาให้บ้านเมืองเจริญทัดเทียมอารยประเทศ แวดล้อมจิตใจคนหนุ่มสาวยุคนั้นให้กระชับมั่นเป็นกลุ่มพวกเดียวกัน ไม่มีสถาบัน ไม่มีรุ่น ไม่มียศชั้น ไม่มีไพร่ผู้ดี มีแต่อนาคตอันสดใสอันเกิดแต่แสงสว่างแห่งรัฐธรรมนูญที่ฉายให้เห็นเสรีภาพ ความเสมอภาค และภราดรภาพ

สาส์นจาก “ทางอีศาน” – ติดอาวุธทางปัญญา

ตั้งแต่โควิดสิบเก้าเริ่มระบาด องค์กรสายส่งปิดกิจการ ร้านค้าก็ทยอยหยุดธุรกรรม นิตยสารรายเดือน “ทางอีศาน” จึงต้องระงับการขายตามร้านค้าปลีก จัดพิมพ์เฉพาะสมาชิกและคำสั่งซื้อตรงจากแฟน ๆ ทั่วประเทศตั้งแต่ ฉบับ ๙๖ เดือนเมษายน ๒๕๖๒ และได้ลดจำนวนหน้าลงจาก ๑๖๐ หน้า เหลือ ๑๒๘ หน้า หน้าสี่สีที่มี ๔๘ หน้าก็ปรับเป็นขาวดำทั้งหมด

ฟ้ า ง า ม

....ฟ้าหมู่บ้านงดงามสีครามไสว ....ฤดูกาลบันดาลใจให้ใฝ่ฝัน ....พลังรากหญ้าดั่งของขวัญกำนัล ....อิ่มอุ่นสุขมีแบ่งปันนั้นมือเรา

ทฤษฎี “ผีบ้า”

ชีวิตในหมู่บ้านหนึ่งก็เหมือนนิยายเรื่องหนึ่ง มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย มีดีใจโศกเศร้า มีเคียดแค้นให้อภัย มีสันติสงคราม มีบาดหมางสามัคคี ตัวละครประกอบด้วย พระเอกผู้ร้าย นางเอกนางรอง ผู้ทรงศีลมหาโจร คนเข้าวัดเข้าบ่อน คนหมั่นเพียรเกียจคร้าน ฯลฯ และก็มีผีบ้า
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com