Category

จากใจทางอีศาน

ปูชนียภาพครูสุรินทร์ ภาคศิริ

รสชาติอาหารที่แซ่บนัว จัดจ้าน ได้ติดตัวคนลาวไปทุกที่ เสียงพิณเสียงแคนคึกคัก ม่วนซื่น แว่วเสนาะโสตบ่มีวันขาดหาย และยามคนลาวจากไกลไปอยู่แดนดินใด ปู่ฟ้าพญาแถนก็ติดตามไปปกปักรักษาทุกหนแห่ง

ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๒๑

การใช้ชีวิตทุกวันนี้ เอาแค่เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติก็อยู่ยากแล้ว เหมือน ๆ จะรู้ที่มาที่ไปของปัญหา แต่นับวันยิ่งปั่นป่วนผันแปร

ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๒๐

ปีนี้ล่วงเลยเดือน ๓ เข้าเดือน ๔ ฟ้ายัง “...ฮ่ำฮ้อง ไขแห่งอีสาน...” และหวังให้ฝนตกตั้งแต่ต้นฤดูไปจนถึงปลายฤดูเพื่อข้าวกล้าได้เต็มทุ่งนา ข้าวเป็นอาหารทิพย์ เป็นอาหารศักดิ์สิทธิ์ ที่แถนฟ้าประทานเลี้ยงดูคน มีข้าวกินเป็นอาหารหลักแล้วหมู่เฮาบ่อดตาย

เฮือนนากับศาลากลาง

สภาพบ้านเรือนในหมู่บ้านอีสานยังคงปลูกสร้างด้วยไม้ มีการปรับปรุงเป็นบ้านครึ่งปูนครึ่งไม้มากขึ้น พอ ๆ กับการสร้างด้วยอิฐปูนทั้งหลัง ผ่านมาอีกรุ่นอายุคน ประชากรและครัวเรือนในหมู่บ้านเพิ่มขึ้น ถนนหนทางคับแคบ ปัจจุบันตามหัวไร่ปลายนาจึงมีการสร้างบ้านขึ้นด้วยแบบแปลนสมัยใหม่ ถือเป็นการขยายตัวด้วยความจำเป็นและค่านิยม

ปิดเล่ม ทางอีศาน 119

ขณะนี้มนุษย์โลกกำลังเผชิญ “สงครามโรค” และ “สงครามโลก” โรคห่าตำปอดยังคงแปลงร่างกลายพันธุ์ และออกอาละวาดไปทั่วทีป หวังให้วงงานสาธารณสุขกดหัวมันให้สยบยอมเป็นโรคประจำถิ่นโดยเร็วพลัน

ว่าด้วยเรื่อง “การท่องเที่ยว”

ท่านเคยได้ยินคำถามประมาณนี้ไหม “ไปเที่ยวอีสาน ไปที่ไหน ได้อะไร…” แล้วก็มีการจาระไนให้ภาพว่า ภาคเหนือมีทิวทัศน์งาม อากาศดี ภาคใต้มีเกาะ และมีทะเลเหมือนภาคตะวันออก กรุงเทพฯหรือเมืองใหญ่ก็ได้เดินซื้อของตามห้างในบรรยากาศเย็นฉ่ำ

ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๑๘

คำพรปีใหม่ที่มอบและรับกันไปเมื่อวันส่งท้ายปีเก่า - ต้อนรับปีใหม่ ที่ขอให้มีความสุขสมหวังในทุก ๆ ด้าน ถึงวันนี้ยังคงอยู่ในใจทุกท่าน แม้ความจริงจะไม่เป็นดังหวัง แต่อย่างน้อยความหวังและความฝันนั้นก็ยังคงอยู่ในใจเรา

“มื้อออกใหม่เดือนสาม”

วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นและเกี่ยวพันกับ “ข้าว” ของพี่น้องชาวไท - ไต โดยเฉพาะอย่างยิ่งทั่วทั้งอุษาคเนย์ เรียกว่า “วัฒนธรรมข้าว” คือ สายโยงใยชีวิตจิตวิญญาณของผู้คนในเขตโขงนี้ตั้งแต่เกิดจนตาย จนเกิดเป็นฮีตสิบสองคองสิบสี่ และธรรมนูญร่วมกัน

ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๑๗

จำได้ไหมพี่น้อง เมื่อแรกยึดอำนาจเข้ามาบริหารกิจการบ้านเมือง ปี ๒๕๕๗ ขณะนั้นราคายางตกต่ำ นายกฯบอกว่าถ้าอยากได้ราคาแพงให้ไปขายที่ดาวอังคาร ล่าสุดเดือนธันวาคม ๒๕๖๔ ที่ผ่านมา ได้แนะประชาชนแก้ภาวะหาอยู่หากินลำบากโดยให้เลี้ยงไก่กินไข่บ้านละสองตัว

ซื่นสดใส สุขี สวัสดีปีใหม่

วงปีสมมุติเวลาร่วมกันของคนของโลกเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งปี เวลาชั่วชีวิตของคนคนหนึ่งสั้นนักเมื่อเทียบกับประวัติศาสตร์มนุษยชาติและห้วงแห่งกาลเวลา

จากใจชาว “ทางอีศาน”

สนั่น ชูสกุล ได้รับการปลูกฝังให้รักชาติรักประชาชนตั้งแต่อยู่ในรั้วมหาวิทยาลัย แล้วตัดสินใจเลือกใช้ชีวิตและสร้างครอบครัว ท่ามกลางการต่อสู้เพื่อสิทธิเพื่อปากท้องของประชาชนคนรากหญ้า พร้อมกับฝึกทักษะงานด้านวรรณศิลป์จนชำนาญ ผลงานเขียนทุกประเภทของเขาสามารถถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ออกมาได้อย่างถึงเลือดถึงเนื้อ เข้าถึงจิตวิญญาณและมีพลังความใฝ่ฝัน โดยเฉพาะงานสารคดีช่วงสุดท้ายเมื่อเขากลับจากไปตระเวนศึกษาดูงานที่ต่างประเทศ

ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๑๕

“…เรามีความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ และสังคม และการจัดสรรทรัพยากรอย่างมหาศาล ท่านทราบไหมครับว่า ๕๐ ปีที่แล้ว ตอนเริ่มแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ถ้าเราแบ่งคนไทยเป็น ๕ กลุ่ม กลุ่มละ ๒๐% คนจนที่สุดของประเทศไทยในปี ๒๕๐๔ เมื่อเริ่มแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ ๑ นั้น เป็นเจ้าของรายได้ประชาชาติ ๔% คนรวยที่สุดอยู่ด้านบน ๒๐% ของประเทศนั้นเป็นเจ้าของรายได้ประชาชาติเกือบ ๖๐%

ธรรมนูญประชาชน

เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ไทย นับวันยิ่งมีรายได้ลดน้อยลง แต่หนี้สินกลับพอกพูน สังคมเต็มไปด้วยอภิสิทธิ์อิทธิพล เศรษฐกิจถูกผูกขาด ข้ารัฐการไร้คุณภาพขาดคุณธรรม ระบบเผด็จการครองเมืองมายาวนาน ทั้งมหาอำนาจต่างแย่งยื้อกันเข้าครอบงำยิ่งขึ้น จึงนำเสนอ “ธรรมนูญประชาชน” เพื่อต้านยัน รุกคืน สร้างความกินดีมีสุข และความเจริญรุ่งเรือง

ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๑๔

คุณชุมพร ทุมไมย, คุณวิชัย เกศศรีพงษ์ศา ตั้งแต่คุณเสียสละชีวิตไปจนถึงวันนี้ สภาพสังคมไทย เหตุการณ์บ้านเมืองของเฮาและของโลกมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปหลาย พวกเฮามีเรื่องสิส่อ*คุณเด้
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com