ข้าวหรือขนม
ขนมของคนไทยโบราณ ที่เชื่อว่ามีความเก่าแก่มาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย และสืบทอดต่อมาจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา และกรุงรัตนโกสินทร์
เป็นขนมที่มีเรียกกันให้เป็นปริศนาชวนสงสัย ขนมที่ว่านี้ก็คือ
ขนมไข่กบ ขนมนกปล่อย ขนมนางลอย และขนมไอ้ตื้อ
ขนมที่ว่านี้ มีชื่อเรียกกันสั้น...สั้นว่า “ขนมสี่ถ้วย” คือจะต้องเป็นของคู่กันตามงานบุญ งานกุศล งานมงคล
พุกาม : มรดกโลกใหม่ของพม่า
มิถุนายน 2562 ในที่สุดองค์การยูเนสโกก็ประกาศขึ้นทะเบียน พุกาม เป็นเมืองมรดกโลกแห่งใหม่ล่าสุดของพม่า เมืองที่เซอร์ เจมส์ สก็อต ประพันธกรชาวอังกฤษ ถึงกับพรรณนาไว้ในหนังสือ “The Burma, His Life and Notions” ตั้งแต่ พ.ศ.2425 หรือเมื่อกว่าร้อยปีมาแล้วว่า...
“…ในบรรดาเมืองที่เกี่ยวข้องกับศาสนาในโลก ไม่ว่าจะเป็นเยรูซาเร็ม โรม เคียฟ พาราณสีไม่มีเมืองใดที่มีวัดวาอารามอยู่มากมายเป็นที่เชิดหน้าชูตาของเมืองเท่าพุกาม…
ศาสตร์และศิลป์กับคนอีสาน
ภาคอีสานเป็นสังคมปิดมานาน ไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์กับต่างชาติ ต่างวัฒนธรรมมากเหมือนคนใต้ ที่ทะเลเปิดทั้งซ้ายขวา ไม่ว่าแขกจีน อาหรับ ฝรั่งก็มาเทียบท่า ย้ายถิ่นเข้ามาอาศัยปะปนมาหลายร้อยปี ทำให้คนใต้คุ้นเคยกับคนแปลกหน้า และกลายเป็นความไม่ไว้ใจไปด้วยภาพโดย สุชีลา เพชรแก้ว เพราะมีประสบการณ์ที่ไม่ดีกับคนแปลกหน้าจำนวนไม่น้อยที่ไม่ได้มาดี คนใต้รู้จักเงินตราและค้าขายกับคนต่างถิ่นก่อนคนไทยภาคอื่น ๆ
เส้นทางวัฒนธรรมคืออะไร [๒]
เรื่องของพระปาจิตและนางอรพิม เป็นเรื่องราวที่เล่าต่อ ๆ กันมาในหมูชุ่มชนชาวอีสานและลาว ที่มีความโดดเด่นในด้านการเล่าเรื่องจากสถานที่ เป็นการบอกที่มาของภูมิศาสตร์และชื่อบ้านนามเมือง เช่นการบอกที่มาของชื่อภูเขาแม่นํ้า เนิน โคก ต้นไม้ ดอกไม้ ที่มีลักษณะแปลกรวมทั้งที่มาของชื่อหมู่บ้านว่ามีที่มาอย่างไร จึงเป็นที่มาของการจัดการรวบรวมเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับภูมินามเหล่านี้ ให้เป็นเส้นทางที่ต่อเนื่องกันจนกลายเป็นเส้นทางวัฒนธรรม
พุทธปรินิพพานในตำนานอุรังคธาตุ
เรื่องราวแห่งมหาวิปโยคของชาวพุทธ จากเหตุการณ์พุทธปรินิพพานขององค์สมเด็จพระโคตมพุทธเจ้า เมื่อกว่า ๒,๖๐๐ ปีก่อน ได้ถูกเรียบเรียงและบันทึกไว้ในพระไตรปิฎก เรียกว่า มหาปรินิพพานสูตร เป็นพระสูตรที่มีขนาดยาวจึงเรียกว่า ทีฆนิกาย
มงคลชีวิตที่หนองประจักษ์
ผมชอบเกาะกลางบึงนํ้าที่ออกแบบให้มีสะพานเชื่อมระหว่างเกาะ มีสวนดอกไม้ สวนสุขภาพสนามเด็กเล่น แต่ที่สุดยอดคือเส้นทางเดิน วิ่ง และขี่จักรยานรอบบึงนํ้า ได้มาตรฐานยุโรปราวกับสวนสาธารณะริมทะเลสาบเจนีวาในสวิตเซอร์แลนด์ จนรู้สึกอิจฉาชาวเมืองอุดรธานี นึกถึง “พุทธวจนะ” บทที่ว่า...การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เป็น ๑ ในมงคล ๑๐๘ ประการ
การปั้นพระปางปฐมเทศนา
“คิดจากชิ้นเล็กก่อน คือเราตัวใหญ่ มุมมองสามารถมองแบบเครื่องบินที่บินวนเห็นรอบด้าน แม้ขนาดยังทำรายละเอียดได้ไม่เต็มที่ แต่จะเข้าใจเรื่องสัดส่วนเบื้องต้นได้ แล้วพอขยายขึ้น
มาอีกระดับ เป็นเรื่องความแม่นยำแล้ว หน้าอก คอ สะโพก ขา เข่า สามารถปรับได้ชัด ดูสัดส่วนเพื่อป้องกันพลาด เพราะถ้าขยายใหญ่เลย ผิดพลาดจะแก้ยากมาก”
เครื่องเบญจรงค์ ๒
ศิลปะเครื่องเคลือบของจีนมีพัฒนาการต่อเนื่อง และเป็นสินค้าออกที่สำคัญของจีนตราบจนถึงยุคล่าอาณานิคม ในสมัยราชวงศ์หมิงเครื่องเคลือบของจีนพัฒนาการจนใช้สีได้ห้าสีและมากกว่า เรียกว่า “อู๋ไฉ่” (五彩) หมายถึงเครื่องกระเบื้องเคลือบห้าสี ได้แก่ สีแดง เหลือง เขียวอ่อน เขียวแก่ และสีม่วงอมดำ
ข้าว เหงื่อกูที่สูกิน จึงก่อเกิดมาเป็นคน
จำได้ว่า...เมื่อเริ่มเขียน “แม่ช้อย นางรำ” ให้กับนิตยสาร “ทางอีศาน” เมื่อสองปีที่ผ่านมา ได้เคยเขียนเรื่อง “ขวัญข้าว...แม่โพสพ”
การเขียนคราวนั้น เป็นการเล่าเรื่องความเป็นมาของ “พระแม่โพสพ” เทวีธัญญาหารแสดงถึงความอุดมสมบูรณ์
กอปรกับที่มีลูกสาวชื่อ “ขวัญข้าว” ซึ่งเป็นชื่อที่ชาวนาใช้เรียกข้าวในการทำขวัญ ซึ่งเป็นประเพณีไทยแท้แต่โบราณ ที่ทำกันมาเป็นร้อย...เป็นพันปี
ฮีตเดือนสาม
คำว่า “ข้าวจี่” คือ ข้าวเหนียวนึ่งสุกแล้วนำมาปั้นเป็นก้อนทาด้วยเกลือคลุกเคล้า ให้ทั่วเอาไม้เสียบกลางแล้วย่างไฟ เมื่อข้าวสุกเกรียมแล้วก็เอาไข่ทาแล้วย่างซํ้าอีกรอบ เสร็จแล้วถอดไม้ออก ต่อมาเอานํ้าอ้อยก้อนยัดใส่แทน งานบุญข้าวจี่เป็นประเพณีที่เก่าแก่ แต่ความจริงแล้วไม่ได้เป็นเช่นนี้ ด้วยว่าแต่ก่อนเป็นเดือนชุมนุมพวกแถน หรืองานเลี้ยงผีฟ้าแถนเดือนสุดท้ายซึ่งจัดมาตั้งแต่เดือนอ้ายและเดือนยี่ เมื่อเดือนสาม ไม่มีประเพณีในพระพุทธศาสนาปราชญ์อีสานจึงได้จัดงานบุญข้าวจี่ไว้ในเดือนนี้ จนกลายเป็นงานบุญประจำเดือนสามตั้งแต่นั้นมา
สำบายดี ปี เมิงเฮ้า
“ปักขทึน (ปัก-ขะ-ทึน)” เป็นคำเก่าในวรรณกรรมอีสานโบราณ ตรงกับคำภาษาบาลี ว่าปักขทิน ตรงกับภาษาสันสกฤตว่า ปฺรติทิน ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Calendar ปัจจุบันใช้ว่า ปฏิทิน แปลว่า แบบสำหรับดูวันเดือนปี คำว่า ปักขทึน มาจากคำ ๒ คำ
พ.ศ. 2442 ยกเลิกคำว่า “ลาว” เกิดคำว่า “อีสาน” และภาคอีสานนิยม
พ.ศ. 2442 ยกเลิกคำว่า “ลาว” เกิดคำว่า “อีสาน” และภาคอีสานนิยม พ.ศ. 2434 ราชสำนักกรุงเทพฯได้รวมหัวเมืองต่างๆ มาเป็นมณฑล แต่ยังไม่ได้จัดเป็นแบบเทศาภิบาล จนถึง พ.ศ. 2437 จึงได้ตั้งเป็นมณฑลเทศาภิบาล ...Read More
“เจนละ” ชนะ “ฟูนัน” ยํ่าปราสาทวัดพู จำปาศักดิ์ ต้นกำเนิดอาณาจักรเจนละ
ก่อนจะกล่าวถึงจารึกซึ่งเป็นต้นเค้าประวัติศาสตร์นิพนธ์เมืองอุบลราชธานีใน ทางอีศาน ฉบับต่อ ๆ ไป ผู้เขียนขอวกกลับมาขยายความเรื่องปราสาทวัดพู แขวงจำปาศักดิ์ สปป.ลาว เพิ่มเติม ที่ถูกสร้างขึ้นภายหลังเจนละรบชนะฟูนัน เนื่องด้วยผู้เขียนได้ข้อมูลจากนักวิชาการชาวไทยและต่างชาติเพิ่มเติมในคราวค้นคว้าเรียบเรียงเรื่องจารึกพระเจ้าจิตรเสนฯ
ความลับของ ‘ดอกเข้าพรรษา’
แต่เดิมมีเพียงคนในพื้นที่จังหวัดสระบุรี เรียกพืชชนิดนี้ว่า ‘ดอกเข้าพรรษา’ เพราะมีดอกในช่วงต้นฤดูฝน ชาวบ้านจึงใช้ช่อดอกไม้ชนิดนี้ถวายพระสงฆ์ในเทศกาลงานบุญเข้าพรรษา อันเป็นที่มาของชื่อ คนทั่วไปอาจไม่ทราบว่า ดอกเข้าพรรษาที่เรียกกันนั้นเป็นพืชหลายชนิด ในสกุล“ข่าลิง” (Globba) ในวงศ์ขิง (Zingiberaceae) แต่ละชนิดมีความแตกต่างกันมากพอที่คนทั่วไปสังเกตสักหน่อยก็จะเห็น
เมืองที สุรินทร์ / เมืองทีโคราช, เปลาะปลอ – ปลูง – ปรู (๑)
ถามถึงบรรพชนชาวเมืองที มีเชื้อสายพูดเขมร, กวย หรือ กูย (ถูกเรียก ส่วย), มอญ บ้างมั้ย? เขาตอบไม่ได้ ผมจึงหันไปถามหญิงเจ้าของร้านค้าด้วยคำถามเดียวกัน ได้คำตอบกว้าง ๆ ว่า สองหมู่บ้านนี้อยู่ติดกันใกล้ลำนํ้ามูล ภาษาพูดก็คือไทยโคราช