แทนน้ำนมแม่ สำนึกของลูกอีสาน
วรรณกรรมอีสานหลากหลายเรื่องราวถูกจดจารลงในใบลาน เรียงร้อยด้วยสายสนองเรียกว่า “หนังสือผูก” เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของบรรพชนที่ส่งต่อสำนึกทางวัฒนธรรมให้กับคนรุ่นต่อมา ลูกอีสานเมื่อครั้งยังอาศัยวัดเป็นสำนักเรียนรู้ คงคุ้นเคยกับวรรณกรรมสำคัญเรื่อง “แทนน้ำนมแม่” ซึ่งมีเรื่องราวที่เล่าถึงพระคุณแม่ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเมื่อครั้งเสด็จโปรดพุทธมารดาที่เมืองฟ้า
อนุสรณ์รัฐธรรมนูญสุรินทร์
เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๙ พลเมืองชาวสุรินทร์และจังหวัดใกล้เคียงจากหลากหลายอาชีพ ได้ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างอนุสาวรีย์รัฐธรรมนูญบริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ อันเป็นตัวอย่างหนึ่งของความตื่นตัวทางการเมืองและความกระตือรือร้นของพลเมืองอีสานที่จะเชื่อมโยงท้องถิ่นของตนเข้าสู่ระบอบใหม่
มุ่งสู่เมืองปาเล็มบัง เกาะสุมาตรา
ช่องแคบซุนดาในค่ำคืนเดือนมืด ๒ ทุ่มกว่า ไม่เห็นแม้กระทั่งริ้วคลื่น หากทว่าแสงระยิบระยับจากเรือบางลำที่ยังคงสัญจรผ่านน่านน้ำแห่งนี้ ขับเน้นให้ภาพอดีตของเมืองยุคเรืองโรจน์ปรากฏฉายโชน ก่อนอาณาจักรศรีวิชัยจะกุมอำนาจและเคลื่อนเส้นทางข้ามสมุทรเชื่อมโลกเข้าด้วยกัน จาก “ช่องแคบซุนดา” สู่ “ช่องแคบมะละกา”
การบูชา “ฟ้าหลวง พูราหลวง” ของไทอาหม
พิธีกรรมสวดพูราหลวงนี้เป็นพิธีสาธารณะที่มีการชุมนุมกัน สวดขับร่วมกัน เพื่อเป็นการแสดงความเคารพต่อฟ้าหลวงและเทพเจ้าทั้งปวงของชาวอาหม บางครั้งจัดขึ้นเพื่อเป็นการสวดต้อนรับบรรดาแขกคนสำคัญที่มาเยือนชุมชน และทำพิธีสวดเรียกขวัญ ให้พร กระทำพิธีขึ้นที่อาคารทรงแปดเหลี่ยมที่เรียกว่า “หอผี”
สุวรรณี สารคณา “ผู้เนรมิตรครอบครัวได้อย่างมีชีวิตชีวา”
สุวรรณี สารคณา เกิด : อุบลราชธานี ๒๕๑๙ การศึกษา ๒๕๓๔ – ๒๕๓๖ : วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี ๒๕๓๗ – ๒๕๔๒ : ศิลปบัณฑิต (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๔๒ – ๒๕๔๕ : ศิลปมหาบัณฑิต (จิตรกรรม) มหาวิทยา...Read More
สามทศวรรษกลุ่มวรรณกรรมลำน้ำมูล (๔)
นักเขียนกลุ่มวรรณกรรมลำน้ำมูล บนจากซ้าย โชติ ศรีสุวรรณ, เจริญ กุลสุวรรณ, เสถียร ยอดดี ล่างจากซ้าย ไพวรินทร์ ขาวงาม, สัญญาลักษณ์ ดอนศรี, บัวกันต์ วิลามาศ กลุ่มวรรณกร...Read More
ตด
“อ่วม…บ่แม่นเฮาหลงซื้ออาหารปลอมมากินซะบ้อ?” พ่อเฒ่าหมานเว้ากับบักอ่วมผู้เป็นลูกเขย
“บ่ดอก…ข่อยซื้อหยังมากิน ข้อยสิพิจารณาเลือกอย่างละเอียด บ่มีของปลอมดอกน่า!”
เยาวชนคนมีภูมิ
เด็กเยาวชนมีศักยภาพที่จะเติบโตอย่างมีคุณภาพได้ ถ้าหากมีการส่งเสริมสนับสนุนอย่างเหมาะสม อะคาเดมีชีวิต (Life Academy) มีแผนงานที่จะทำโครงการพัฒนาเยาวชนคนมีภูมิ ให้มี ๓ ภูมิ คือ ภูมิธรรม ภูมิปัญญา และภูมิฐาน
จดหมายจากนักอ่าน
ครั้งแรกดิฉันสมัครเป็นสมาชิก 2 ปี แต่พอนั่งอ่านพบข้อความเชิญชวนสมัครสมาชิกก็เข้าใจว่า ต้องการระดมทุน จึงสมัครเป็นสมาชิกตลอดชีพ เพื่อให้กำลังใจคนทำงาน และคิดทำประโยชน์แก่ส่วนรวม
“ไพบูลย์ บุตรขัน” ร้อยปีมีหน คนเพลงมหัศจรรย์
ผมเกิดและเติบโตในเมืองกรุง จะได้เห็นชนบทก็ตอนปิดเทอม ได้ไปเที่ยวบ้านก๋ง ซึ่งเป็นบ้านเกิดของพ่อ ณ ริมคลองบางพระ ฉะเชิงเทรา ชาวบ้านย่านนั้นส่วนใหญ่มีอาชีพเลี้ยงไก่ไข่ คำว่า “บ้านนอกคอกนา” ที่แท้จริง จึงไม่มีในจินตภาพของผมเลย
เรียนรู้อดีต สร้างสรรค์อนาคต
มนุษย์มีต้นกำเนิดที่ทวีปอัฟริกา แล้วเคลื่อนย้ายไปทั่วทีปทั่วแดน ทำนองคล้ายคลึงกับมะละกอที่เกิดจากอเมริกากลาง จากนั้นแพร่พันธุ์ไปไกล ที่อัศจรรย์ใจกว่านั้นคือ มะละกอมาผสมลงตัวกับ“ปลาเแดก” จนทำให้ “ตำบักหุ่ง”กลายเป็นอาหารหลักของคนไทยภาคอีสาน
คนพากย์หนัง
สมัยก่อนหนังเสียงในฟิล์มยังไม่มี ไม่ว่าหนังไทย ฝรั่ง อินเดีย ต้องใช้นักพากย์ ถ้าหนังฉายในโรงเก็บเงินก็จะมีนักพากย์ ชาย หญิงพากย์คู่ หรือชายเดี่ยวคนเดียวพากย์ทุกเสียง เสียงชายหญิง เสียงเด็ก คนแก่ เหมาหมด รับค่าตัวคนเดียว
อุรังคธาตุ-นิทานพเนจร : จุดเริ่มต้น (๒)
เช้าชีวิตของฉันเริ่มต้นขึ้นที่รูปเคารพพญาศรีสัตตนาคที่ริมโขง ฉันอธิษฐานขอให้การตามรอยพระพุทธบาทแห่งมหาบุรุษสำเร็จลุล่วงไร้อุปสรรค เมื่อเกิดขวัญกำลังใจฮึกเหิมแล้วเติมมื้อเช้าเป็นเชื้อเพลิงใส่ท้องอีกหน่อยก็พร้อมเดินทาง โดยมีหมุดหมายอยู่ที่วัดเวินพระบาท หมู่บ้านเวินพระบาท อำเภอท่าอุเทน ห่างจากตัวจังหวัดนครพนมไปราว ๒๘ กิโลเมตร
ลายแถนฟ้า (ตอนที่ ๑๙)
ชาวปรางค์กู่รวมตัวกันมาประชุมที่ศาลากลางหมู่บ้าน กำนันทองหลางแม้จะเป็นประธานแต่ก็นั่งเงียบ พ่อเฒ่าคำผุยทั้งที่เป็นหมอจ้ำของหมู่บ้านก็เงียบอีกคน