Tag

ศิลปวัฒนธรรม – ประวัติศาสตร์

(๗) ความหลากเลื่อนของภาษา กับความหมายของคำ “ใหญ่-ยาย-นาย”

เราได้เคยถกแถลงกันเรื่องความหลากเลื่อนของภาษาตามแนวคิดของแดริด้า-นักคิดแนวรื้อสร้างผู้เรืองนามชาวฝรั่งเศสมาบ้างแล้ว โดยเริ่มจากคำว่า “ด้ำ” ซึ่งเป็นคำไทดั้งเดิม ต่อมาได้กลายเสียงเป็น “ด้าม” จากชื่อโคตรวงศ์ “หมื่นด้ำพร้าคต” เพี้ยนไปเป็น “หมื่นด้ามพร้าคด”

ปาก๊ก 巴国 (จบ)

ต่อมาในยุคชุนชิว แคว้นฉู่เริ่มมีกำลังเข้มแข็งขึ้น ผลักดันให้เขตแดนของ ปาก๊ก ต้องเลื่อนถอยไปทางทิศะวันตกเรื่อย ๆ หนังสือ “ฮัวหยางกั๋วจื้อ” บรรพ “ปาก๊ก” 。《华阳国志•巴志》 บันทึกว่า “ปา กับ ฉู่ ทำสงครามกันหลายครั้ง”

ช่างงามงด คชลักษมี

บอนเตียสเรย หรือบันทายสรี เป็นปราสาทหินในกัมพูชา ที่ได้รับสมญานามว่าเป็น “รัตนชาติที่แท้ของศิลปะเขมร” (The True Gem of Khmer Architecture) เพราะเป็นปราสาทหลังเล็กๆ แต่จำหลักลายวิจิตรตระการตา จัดเป็นงานประติมากรรมแบบ “นูนสูง”

รอยพระพุทธบาทในตำนานอุรังคธาตุ

ปาทลักษณะนิทาน หรือเรื่องราวของการประทับรอยพระพุทธบาทในดินแดนลุ่มแม่น้ำโขง เป็นสาระสำคัญหนึ่งที่ปรากฏอยู่ในตำนานอุรังคธาตุ ดังนั้น แนวคิดเรื่องรอยพระพุทธบาท จึงเป็นแนวคิดสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการแต่งตำนานอุรังคธาตุ

ตาม “ลาว คำหอม” ไปเยี่ยมชายแดนใต้ (ตอนที่ ๑)

นานมาแล้วมีคณะครูได้พาเด็ก ๆ ใน ๓ จังหวัดชายแดนใต้กลุ่มหนึ่ง มาพบลุง “ลาว คำหอม” ที่ไร่ธารเกษม เด็ก ๆ วิ่งเล่นกันอย่างสนุกสนาน ส่งเสียงกรี๊ดกร๊าดตามประสาเด็ก แต่เมื่อเวลาจะจากกันเด็ก ๆ ไม่อยากไป มีเด็กคนหนึ่งเข้ามากอดลุงแล้วร้องไห้บอกว่า “หนูไม่อยากกลับบ้าน หนูอยากอยู่กับคุณตาทีนี่” สะเทือนใจผู้ได้ยิน โถ! บ้านหนูผู้ใหญ่เขาห้ามไม่ให้ออกไปวิ่งเล่นนอกบ้านอย่างเสรีซินะ

พระพุทธเจ้าเสวยข้าวอะไร ?

ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ให้คำตอบไว้ดังนี้ ได้เคยตั้งปัญหามาแล้วในบทก่อนว่า พระพุทธเจ้าเสวยข้าวอย่างที่เรากินกันอยู่ในเมืองไทยหรือข้าวอะไร ที่ตั้งปัญหาเช่นนี้ก็แพราะได้พยายามค้นดูในพระไตรปิฎกและอรรถกถาฎีกาแล้วไม่พบคำที่แปลว่า ข้าวจ้าวหรือข้าวเหนียว อย่างที่ฝรั่งเรียกว่า Rice อันแน่นอนสักคำเดียว

วัฒนธรรมไท : ข้าว ผี ขวัญ แถน เงือก

ข้าพเจ้าพบว่า วัฒนธรรมไท(ทั้งหมด) ก่อนรู้จักพุทธพราหมณ์ สรุปรวบยอดได้ 5 คำ ข้าว ผี ขวัน(ขวัญ) แถน เงือก, ข้าว : การผลิตข้าวกำหนดให้เกิดพิธีกรรมต่าง ๆ ในรอบ 12 เดือน เป็นประเพณีสืบมา, ผี : คือระเบียบโลกที่คนต้องเคารพ

กลอนบทละคร (๑)

กลอนบทละครมีมาแล้วตั้งแต่ยุคกรุงศรีอยุธยา แต่จะมีบทละครจบเรื่องครบถ้วนอย่างที่มาแต่งกันในยุครัตนโกสินทร์หรือไม่ ก็ตัดสินยาก เพราะต้นฉบับสูญหายไปครั้งกรุงแตก แต่หลักฐานมียืนยันได้ว่า มีการแต่งเป็น “บทร้อง” และก็น่าจะร้องเล่น (แสดงละคร) กันทั้งคืนเป็นเวลาหลายคืน

ตำนานหลังเสื้อยึด “หมาเก้าหาง” ของทางอีศาน

คนในสุวรรณภูมิเมื่อ 3,000 ปีมาแล้ว ยกย่องหมาเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์มี 9 หาง เอาพันธุ์ข้าวจากเมืองฟ้า ลงมาให้มนุษย์ปลูกกินเป็นอาหาร มีคำบอกเล่าของชาวจ้วง อำเภอหลงโจว ในมณฑลกวางสี มีความว่า แต่ก่อนคนเรายังโง่ ยังไม่มีข้าวกิน เพราะไม่รู้จักและไม่มีเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูก ครั้งนั้นมีหมา 9 หางตัวหนึ่งขึ้นไปบนสวรรค์

จุ้มหรือตราราชลัญจกร สมัยล้านช้าง

จุ้มหรือตราราชลัญจกร สมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ซึ่งเป็นกษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดของอาณาจักรล้านช้าง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๑๘๑-๒๒๓๘ ระยะเวลากว่า ๕๗ ปี ถือเป็นกษัตริย์ล้านช้างอีกองค์หนึ่งที่ทำให้อาณาจักรล้านช้างมีเจริญความรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก ทั้งฝ่ายอาณาจักรและศาสนจักร

ชุมชนลาวในภาคกลางของสยาม (๑)

ในอดีตนั้นอาณาจักรอยุธยาถือว่าเป็นอาณาจักรบ้านพี่เมืองน้องกับอาณาจักรล้านช้าง อันถือเป็นแผ่นดินแม่ของกลุ่มคนไท-ลาวก็ว่าได้ เหตุเพราะทั้งไทยและลาวก็ล้วนเป็นลูกหลานขุนบรม ซึ่งทั้งสองฝ่ายเข้าใจกันดี แม้นช่วงหนึ่งของหน้าประวัติศาสตร์พระเจ้าฟ้างุ้มทรงรวบรวมแผ่นดินลาวให้เป็นปึกแผ่นและยาตราทัพเข้าใกล้ชายแดนอาณาจักรอยุธยา พระเจ้าอู่ทองแห่งอาณาจักรอยุธยาถึงกับส่งสาส์นมาขอเป็นไมตรี

สายแนน กกแนน จากตำนานขูลูนางอั้ว

กกแนนเกี่ยวพันกันจึงนำจ่อง ปลายหากเนิ้งหนีเว้นจากกัน มียอดด้วนกุดขาดตายใบ หนองวังบกขาดลงเขินท้าง อันหนึ่งน้ำบ่อแก้วเหลือตลิ่งหนองหลวง กลายเป็นแหนหนามจอกขาวตันท้าง

ประวัติศาสตร์ อีสาน – ล้านช้าง

ดินแดนอีสานเป็นพื้นที่ ๆ มีการพบแหล่งโบราณคดีทั้งก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์จำนวนมาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอีสานเป็นดินแดนที่มีผู้คนอยู่อาศัยมาตั้งแต่อดีต ชุมชนต่าง ๆ ได้มีพัฒนาการต่อเนื่องจนเกิดเป็นรัฐ โดยมีแหล่งชุมชนโบราณจำนวนมากกระจายอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำชีและลุ่มแม่น้ำมูล โดยแบ่งเป็นกลุ่มวัฒนธรรมทวารวดีซึ่งนิยมทำคูน้ำคันดินเป็นวงรีหรือวงกลมรอบเมือง นิยมตั้งเมืองใกล้แหล่งน้ำเพื่อสะดวกในการชักน้ำเข้ามาเก็บในคูเมือง

ประวัติศาสตร์อีสานโบราณ : อาณาจักรศรีโคตรบูร

ในตำนานพระธาตุพนมเล่าว่า "ในราว พ.ศ.๘ ศรีโคตรบูรตั้งเมืองหลวงอยู่ใต้ปากเซบ้องไฟ อยู่เหนือสุวรรณเขตประเทศลาว ครั้นต่อมาได้ย้ายเมืองหลวงมาตั้งอยู่เหนือธาตุพนม ในดงไม้รวกจึงมีนามว่า" มรุกขนคร "มีกษัตริย์ครองเมือง ๕ องค์ องค์สุดท้ายชื่อ พระยานิรุฏฐราช บ้านเมืองเลยเกิดวิบัติล่มร้างเป็นบึงและป่า

ผู้ใหญ่ลี เพลงอารมณ์ขันกับการเมืองในรูปพ่อขุนอุปถัมภ์

สำหรับในแง่เพลงลูกทุ่งแล้ว เพลงที่ล้อเลียนจอมพลสฤษดิ์ ก็มีในตอนท้ายของเพลง โกนจุก สิงโต ต้นฉบับของ เพลิน พรหมแดน ที่ ครูสุรินทร์ ภาคศิริ เป็นผู้แต่ง ได้หยิบวาทกรรมของจอมพลท่านนี้มาใส่ในบทเพลงแต่เพลงที่ล้อเลียนการเมืองค่อนข้างชัดเจนในยุคนั้นหนีไม่พ้นเพลง ผู้ใหญ่ลี เวอร์ชั่น ศักดิ์ศรี ศรีอักษร นักร้องลูกทุ่งเมืองอุบลราชธานี ผลงานเพลงของคู่ชีวิตของเธอเองคือ ครูพิพัฒน์ บริบูรณ์
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com