๓๖๕ น้ำพริก – ๑๐. น้ำพริก ผกค. สูตร ๕ ปลาทูกับน้ำพริกผงชูรส

ผมเป็นหมอประจำกองร้อย ๘๕ เขต ๘ ดอยยาว-ผาหม่น จังหวัดเชียงราย แต่ก็ไม่ค่อยได้นอนในกองร้อยส่วนใหญ่ถูกส่งออกไปทำงานชายขอบฐานที่มั่น งานประจำคือไปกับหน่วยลำเลียง ขนอาวุธลงเขาไปส่งสหายที่ขับรถปิคอัพมารับขนส่งไปที่เขตงานใหม่ ๆ ในภาคเหนือ แล้วก็แบกของลงจากรถปิคอัพกลับฐานที่มั่น ครั้งหนึ่งทำตัวเสียสละแบกรับงานหนัก รับแบกกระทะใบบัว

กาพย์ไขผญา: เงิน-ทอง

๏ ใจหนอใจมนุษย์ จะสูงสุดเมื่อมีธรรม พื้นเดิมอาจมืดดำ โดยสันดานอันดิบดาย ธรรมดาก็ดูดี ไม่เห็นมีที่อันตราย มีญาติมีมิตรสหาย เกิดเจ็บตายเสมอกัน ถึงคราวร่วมทุนค้า หากำไรมาแบ่งปัน...อ่านต่อ

ลายแคนเสียงรถไฟ – พ่อสมบัติ สิมหล้า

ลายแคน ประดิษฐ์โดย พ่อสมบัติ สิมหล้า ที่เลียนมาจากเสียงรถไฟ แสดงในงานเสวนากึ่งสาธิตทางดนตรี “ลายดนตรีแคนในวัฒนธรรมหมอลำ” ในนิทรรศการ “แคนล่องคะนองลำ” ณ หอศิลป์บ้านจิม ทอมป์สัน 28 มีนาคม พ.ศ. 2558

สมุนไพรระงับปวด

“ปวด” คำ ๆ เดียวนี้ ทุกคนได้ยินเหมือนกัน แต่รับรู้ไม่เหมือนกัน คนส่วนใหญ่ไม่ชอบความเจ็บปวด แม้ว่าต้องพบเจอตั้งแต่เกิดจนตาย ความรู้สึกเจ็บปวดเป็นคุณสมบัติอันจำเป็น ที่ทำให้สัตว์ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่อาจเป็นอันตรายต่อตนเอง ถ้าไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดทารกที่เกิดมาคงอยู่รอดได้ไม่เกินหนึ่งวัน

ผญา – ยอดวรรณกรรมอีสาน

ผญา เป็นสำนวนคำพูดที่ไพเราะ คมคายลึกซึ้ง สละสลวย คนอีสานนั้นเป็นคนมีโวหาร เจ้าบทเจ้ากลอน พูดจาเป็นคำคม มีสัมผัสคล้องจอง ไพเราะ น่าฟัง ไม่ว่าจะเป็นโอวาท คำสั่งสอน คำตักเตือน ห้ามปราม หรือคำเกี้ยวพาราสีของหนุ่มสาวอีสานในอดีต สมัยโบราณนั้นคนอีสานมักพูดเป็นสำนวนภาษาแบบผญาเป็นส่วนมาก

“ปลาแดก” นั้นฉันใด

ปลา คือเป็นกับข้าวหลัก หรือเป็นอาหารหลักของคนอีสานมาแต่โบราณกาล ดังจะเห็นได้จาก ปู่ ย่า ตา ทวด สอนลูกสอนหลานว่า ให้กินอาหารหลักเป็นประจำ คือ “กินข้าวเป็นหลัก กินผักเป็นยา กินปลาเป็นแนวกิน” หมายถึง ให้กินข้าวเป็นหลัก ให้กินผักเป็นยา และให้กินปลาเป็นกับข้าว นี้ย่อมแสดงให้เห็นว่า ปลา มีความสำคัญต่อการบริโภคอาหารของคนอีสาน

กลอนบทละคร (๕ – ๖)

กลอนบรรยายพระราชวังกรุงกุเรปัน ในบทละครอิเหนาครั้งกรุงเก่าข้างต้นนี้ ภาพที่บรรยายแท้จริงแล้วก็คือพระราชวังสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง เนื้อความตอนนี้จึงมีความหมายสำคัญทางประวัติศาสตร์ด้วยครับ การอ่านวรรณคดีนั้น เราจะได้ทั้งความไพเราะชื่นใจของภาษา และความรู้ทางประวัติศาสตร์ สังคมวิทยาด้วย
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com