Category

ศิลปวัฒนธรรม – ประวัติศาสตร์

ปาฐกถาของนายสี จิ้นผิง ในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์จีน วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 [4/4]

เราต้องปฏิบัติตามนโยบายเกี่ยวกับ “หนึ่งประเทศสองระบบ” “ชาวฮ่องกงบริหารฮ่องกง” "ชาวมาเก๊าบริหารมาเก๊า” และ “การบริหารตนเองในระดับสูง” อย่างครอบคลุมและถูกต้อง ดำเนินการเพื่อให้ส่วนกลางใช้อำนาจปกครองและกำกับดูแลเขตบริหารพิเศษฮ่องกงและเขตบริหารพิเศษมาเก๊าอย่างครอบคลุม ดำเนินการเพื่อให้เขตบริหารพิเศษมีระบบกฎหมายและกลไกในการบังคับใช้กฎหมายเพื่อปกป้องความมั่นคงแห่งชาติ

ปาฐกถาของนายสี จิ้นผิง ในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์จีน วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 [ 3/4 ]

ความตั้งใจได้มาไม่ยาก ความยากอยู่ที่การปฏิบัติตามความตั้งใจอย่างเสมอต้นเสมอปลาย การใช้ประวัติศาสตร์อ้างอิง จะได้เรียนรู้การเปลี่ยนแปลง เราต้องใช้ประวัติศาสตร์สะท้อนให้เห็นสภาพความเป็นจริงในปัจจุบันและคาดการณ์อนาคต จากการต่อสู้เป็นเวลาหนึ่งศตวรรษของ พคจ. เป็นบทเรียนว่าเหตุใดเราถึงประสบผลสำเร็จได้ในอดีต และบทเรียนว่าทำอย่างไรจึงจะประสบความสำเร็จต่อไป เพื่อจดจำความตั้งใจและภาระหน้าที่ให้แม่นยิ่งขึ้น เป็นแบบอัตโนมัติมากยิ่งขึ้น และสร้างสรรค์อนาคตที่ดีงาม

ปาฐกถาของนายสี จิ้นผิง ในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์จีน วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 [ 2/4 ]

หนึ่งศตวรรษก่อน บุคคลหัวก้าวหน้าของ พคจ. ได้ก่อตั้ง พคจ. ขึ้น และก่อรูปขึ้นเป็นจิตวิญญาณแห่งการก่อตั้งพรรคอันยิ่งใหญ่ นั่นก็คือ ยึดมั่นทฤษฎี รักษาอุดมการณ์ ปฏิบัติตามความตั้งใจ แบกรับภารกิจ ไม่กลัวพลีชีพ ต่อสู้อย่างกล้าหาญ ซื่อสัตย์ต่อพรรค และไม่ให้ประชาชนผิดหวัง นี่คือแหล่งที่มาของจิตวิญญาณ พคจ.

ปาฐกถาของนายสี จิ้นผิง ในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์จีน วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 [ 1/4 ]

วันนี้เป็นวันสำคัญและยิ่งใหญ่ทั้งในประวัติของพรรคคอมมิวนิสต์จีน (พคจ.) และประวัติของประชาชาติจีน เรามาชุมนุมกันที่นี่อย่างยิ่งใหญ่เพื่อร่วมกับประชาชนชนเผ่าต่าง ๆ ทั่วประเทศเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 100 ปีการก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์จีน ย้อนทบทวนกระบวนการอันรุ่งโรจน์ในการมุมานะบากบั่นต่อสู้ของพรรคคอมมิวนิสต์จีนในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา และมองไปสู่อนาคตอันกว้างไกลในการฟื้นฟูความเจริญรุ่งเรืองของประชาชาติจีน

บทเรียนจักรวรรดิโรมัน (๔/จบชุด)

จักรพรรดิโรมันในยุคสุดท้าย ในศตวรรษที่ 5 นั้นไปพำนักที่เมืองราเวนนา ทางเหนือของอิตาลีปัจจุบัน ขณะที่ชนเผ่า Goth ที่ถูกโรมันรุกไล่จนไม่มีที่อาศัย ได้รวมพลกลับมาบุกอิตาลี ลงไปถึงโรม แต่ไม่ได้บุกเข้ายึดแม้ว่าจะทำได้

บทเรียนจักรวรรดิโรมัน (๓)

การรบที่ Alesia ตะวันออกเฉียงเหนือ “ฝรั่งเศส” แถบ “บูร์กุนดี” ในปัจจุบัน เป็นการรบครั้งใหญ่สุดและสำคัญ ที่ซีซาร์สามารถปราบชนเผ่าเยอรมานิกที่นำโดย Vercingetorix ที่รวมพลสู้กองทัพโรมัน ซีซาร์ล้อมเมืองไว้ สร้างกำแพงไม้ล้อมรอบ ไม่ให้ใครเข้าออกจนชาวเมืองหิวโหยและหมดกำลัง

บทเรียนจักรวรรดิโรมัน (๒)

ในปี 133 ก่อน ค.ศ. ชาวโรมันตระกูลสูงชื่อ กรักคุส (Tiberius Gracchus) ที่เคยไปรบที่คาร์เทจได้รับเลือกเป็น “ผู้แทน” (tribune) ของประชาชน เขาได้เสนอกฎหมายปฏิรูปที่ดิน โดยคืนที่ดินที่ถูกคนรวยและขุนศึกศักดินายึดไปให้ประชาชน นับเป็นเรื่องใหญ่ที่ไม่มีใครกล้าคิดกล้าทำมาก่อน แต่เมื่อกฎหมายผ่าน “สภาประชาชน” และวุฒิสภาไม่อาจคัดค้านได้ เขาได้กลายเป็น “ฮีโร่” ของประชาชน

ยิ่งใหญ่เพียงใดก็มีวันล่มสลาย # บทเรียนจักรวรรดิโรมัน (๑)

หนึ่งพันปีที่จักรวรรดิโรมันอันยิ่งใหญ่ได้ครองพื้นที่ในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ แบ่งคราว ๆ ว่าครึ่งแรกประมาณ 500 กว่าปีก่อน ค.ศ. เป็น “สาธารณรัฐ” (republic) ครึ่งหลัง 500 กว่าปี จาก 1 ศตวรรษก่อน ค.ศ. จนถึงศตวรรษที่ 5 เป็น “จักรวรรดิ” (empire)

สภาพเศรษฐกิจและการเมืองอีสานในห้วง ๒๔๗๕

ในอดีต ชาวอีสานส่วนใหญ่มีอาชีพทําเกษตรกรรม และมีหน้าที่ตามพันธะของการควบคุมคนในระบบไพร่ ทําให้ต้องทํางานรับใช้มูลนายหรือส่งสิ่งของในท้องถิ่นเป็นส่วยเพื่อทดแทนการทํางาน จึงอาจกล่าวได้ว่า สภาพเศรษฐกิจอีสานก่อนมีทางรถไฟเป็นเศรษฐกิจแบบยังชีพหรือพึ่งตนเอง

ประวัติและที่มา ทำไมเวลาคนใกล้สิ้นใจต้องให้ท่องคำว่า “อรหัง”

นับตั้งแต่ยุคต้น ๆ ที่พระมหาเถระนำเข้ามาเผยแผ่ และครอบครัวของนายสมก็ส่งลูกชายเข้าไปบวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนาด้วย คราวนั้นนายสมได้มีอายุมากแล้วประมาณ ๘๘ ปี เกิดล้มป่วยลงตามอายุขัยของมนุษย์ โรคร้ายได้กำเริบขึ้นทุกวันจนอาการป่วยหนักขึ้นทุกวัน พอถึงวันใกล้จะสิ้นใจตายด้วยอำนาจแห่งกรรมไม่ดีที่ตนกระทำมา โดยเฉพาะกรรมที่ออกป่าล่าสัตว์มาแต่ยังเด็ก

วรรณกรรมกับอารยธรรมโลก (๔)

โรแมนติกนิยม (Romanticism) ไม่เป็นเพียงประวัติศาสตร์ หรือวรรณกรรม แต่เป็นปรัชญา เป็นวิธีคิด ท่าทีต่อชีวิต โลกทัศน์ ชีวทัศน์ ให้ความสำคัญกับจินตนาการ ทำให้ “มองอดีต เห็นปัจจุบัน ฝันถึงอนาคต”

วรรณกรรมกับอารยธรรมโลก (๒)

ทำไมเรื่องมหากาพย์คลาสสิกจึงเป็นบทกวี และยังมีการประพันธ์เป็นบทกวีเรื่อยมา ที่สำคัญ ทำไมอำนาจการเมืองจึงสัมพันธ์กับการเขียนกวี เผด็จการตั้งแต่นีโร จักรพรรดิโรมันมาจนถึงมุสโสลินีของอิตาลี และสตาลินของรัสเซียจึงชอบเขียนบทกวี

วรรณกรรมสร้างอารยธรรมเปลี่ยนโลก (๑)

การถ่ายทอดสืบทอดเรื่องราวในอดีตมีทั้งด้วยการบอกเล่า หรือมุขปาฐะ มีทั้งผ่านวัตถุสิ่งของ เครื่องมือทำมาหากิน หัตถกรรม ปัจจัยสี่ ภาพเขียน จิตรกรรม ประติมากรรม ศิลปกรรม
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com