Category

ศิลปวัฒนธรรม – ประวัติศาสตร์

พิธีกรรมหลังความตายในครั้งบรรพกาลของชาวอุษาคเนย์

เรื่องราวพิธีกรรมหลังความตายในอดีตของชาวอุษาคเนย์ ถูกบันทึกไว้ในนิทานน้ำเต้าปุ้ง กล่าวถึงการปลงศพด้วยการเผาและการฝังมีการส่งข้าวปลาอาหารให้ผู้ตายเหมือนครั้งยังมีชีวิต

อีสาน ในประวัติศาสตร์และวรรณกรรม

อีสาน ภูมิภาคที่มีภาพลักษณ์ที่ไม่รื่นรมย์ในการรับรู้และทัศนะของผู้คนภายนอกพื้นที่ และถูกตอกยํ้าด้วยวาทกรรมจากงานวรรณกรรม งานเขียนประวัติศาสตร์ แต่ด้วยความกว้างใหญ่ของพื้นที่ ๆ มีเขตติดต่อกับเพื่อนบ้านที่มีระยะทางยาว ทำให้มีทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมหลากหลาย เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ ทั้งด้านการพัฒนา การค้า การเมือง

ร่องรอย “ผู้หญิงเป็นใหญ่” ในตำนานไท-ลาว

ในเอเชียโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่สัมพันธ์กับไทคดีศึกษา นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา โบราณคดี ภาษาศาสตร์ คติชนวิทยา ฯลฯ จำนวนหนึ่งเชื่อว่าสังคมไท-ลาว (คนที่พูดภาษาตระกูลไท-ลาว) ในสมัยโบราณเมื่อครั้งยังนับถือผี (เทพ/แถน/พระเจ้า-ในภาษาอังกฤษใช้คำเดียวกันคือ Animism) ไม่ได้นับถือศาสนาพุทธ เคยเป็นสังคมที่มีแม่เป็นศูนย์กลางหรือแม่เป็นใหญ่

พระแซกคำ

พระแซกคำ พระพุทธรูปสำคัญซึ่งปัจจุบันประดิษฐานอยู่ ณ วัดคฤหบดี แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กทม. นั้น คนส่วนใหญ่เข้าใจว่า เป็นพระพุทธรูปจากประเทศลาว(ล้านช้าง) แต่จากประวัติศาสตร์ลาว มีบันทึกชัดเจนว่า พระเจ้าโพทิสาราช (โพธิสารราช) พระราชบิดาของพระเจ้าไชยเชถถาทิราช (ไชยเชษฐาธิราช) ขอไปจากนครเชียงใหม่-ล้านนา

กู่สันตรัตน์ มณีแห่งนครจำปาศรี

เมืองโบราณ นครจำปาศรี อยู่ในพื้นที่อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ตัวเมืองมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตรงมุมมน กว้างประมาณ ๑,๕๐๐ เมตร และยาวประมาณ ๒,๗๐๐ เมตร

ประวัติและที่มา ทำไมจึงมีโรคและมียารักษา

กาลครั้งนั้นแล บนโลกนี้มนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย ได้อาศัยอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข สรรพสิ่งบนโลกมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันมาชั่วกาลนาน แต่อยู่มาวันหนึ่งทุกสิ่งทุกอย่างก็เริ่มแปรเปลี่ยนไป เริ่มมาจากความโลภความโกรธและความหลงของมนุษย์ เป็นตัวแปรที่สำคัญในการทำให้สรรพสิ่งบนโลกนี้เปลี่ยนแปลงไปด้วย

ว่าด้วยวัฒนธรรม

“วัฒนธรรมเป็นองค์รวมที่สลับซับซ้อนรวมไปถึงวิทยาการ ความเชื่อ ศิลปะ คุณธรรมกฎหมาย ขนบประเพณี ความสามารถ และความเคยชินทั้งปวงที่มนุษย์ได้รับจากสังคม” - E.B. Tylor

ประเด็นประวัติศาสตร์ เหตุเกิดที่วัดโพธิ์ย้อย อ.ปะคำ จ.บุรีรัมย์

ในรัฐสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ.2444 เจ้าฟ้ากรมพระยานครสวรรค์วรพินิจ ได้เสด็จจากเมืองโคราชจะไปยังเมืองศรีโสภณผ่านมาที่ด่านปะคำ

ประวัติโบสถ์ไม้วัดโพธิ์ย้อย อ.ปะคำ จ.บุรีรัมย์

จากการสอบถามคุณยายยวง แป้นดวงเนตร ผู้เฒ่าผู้แก่เมื่อก่อนนั้นเล่าว่า เมื่อสมัยยายยังเป็นเด็ก ยายยังมีทวดอีกหลายคนและญาติพี่น้องในหมู่บ้าน เช่น ทวดคง ทวดมาก แม่เฒ่าเกิด การเขียนรายชื่อเหล่านี้เพื่อบังสุกุลอุทิศส่วนกุศลให้กับบุคคลที่ล่วงลับ และคุณยายบอกว่าพ่อของคุณยายเคยอุ้มไปที่วัดโพธิ์ย้อย

จ.บุรีรัมย์ มีปราสาท|กู่โบราณสมัยขอม มากที่สุดในประเทศไทย

วันนี้เดินทางไปชื่นชม"ปราสาทโคกงิ้ว" อ.ปะคำ จ.บุรีรัมย์ ทีมช่างกำลังลุยปรับปรุง ทำงานกันมาได้ 4 เดือนแล้ว ภายในต้นปีหน้าคงเสร็จสมบูรณ์

อุโบสถไม้ที่วัดโพธิ์ย้อย

วัดโพธิ์ย้อย ตำบลไทยเจริญ อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งอยู่ริมถนนสาย 224 ใกล้สามแยกปะคำ ภายในวัดมีอุโบสถไม้หลังเก่าซึ่งสร้างซ้อนทับลงบนฐานศิลาแลงสูงเด่น
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com