Search Results

ชลธิรา สัตยาวัฒนา

ทางอีศาน ฉบับที่ 139

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๑๓๙ ปีที่ ๑๒ ประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๖ - ภาพปก : "อู๊ด อัมพวา" เรื่องเด่นในฉบับ - ๐ "มายาคติ ไตลื้อ เชียงรุ้ง สิบสองพันนา" | ชลธิรา สัตยาวัฒนา ๐ ฉาน อัสสัม มาจากสยามจริงหรือ? หรือว่าคนละเรื่องเดียวกัน | พลเอง ดร.จารุภัทร เรืองสุวรรณ ๐ ประวัติศาสตร์ร้อยเอ็ด : การหวนคืนของผู้สืบทอด | ปริญ รสจันทร์ ๐ "ความเชื่อ" กับการจัดการวัฒนธรรมชาวอีศาน | สถิตย์ ภาคมฤค ๐ มหาสารคาม DNA ~ ๑๔ จุดเช็คอินสู่เมืองแห่งการเรียนรู้โลก | สุมาลี สุวรรณกร ๐ "อีสาน" หนึ่งแรงบันดาลใจเรื่องสั้นเรื่องแรกของสุวัฒน์ วรดิลก | สมปอง ดวงไสว

“มหากาพย์ชนชาติไทฯ” หนังสือ 3 เล่มชุด แห่งชีวิตการศึกษา – ค้นคว้า – วิจัย – รื้อสร้าง ของ อาจารย์ชลธิรา สัตยาวัฒนา และอาจารย์ชายชื้น คำแดงยอดไตย

“ข้าวยิ่งเต็มเม็ดเต็มหน่วย ยิ่งงอรวงโน้มต่ำลง” ‘ทางไท…วิถีไท’ เป็นวิถีธรรมชาติ การซึมซับเข้าถึงธรรมชาติอย่างละเอียดอ่อนลึกซึ้งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ‘บรรพชนชาวไท&#...
Read More
Sticky Post

ทางอีศาน ฉบับที่ 134

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๑๓๔ ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๖๖ - เรื่องเด่น โศกนาฏกรรม "นางโอ้เปียมกับสามลอ" ㆍ ชลธิรา สัตยาวัฒนา - เมืองร้อยเอ็ด ของขวัญจากกาลเวลา ㆍ ปริญ รสจันทร์ - เมืองลำพูนยุคสร้างบ้านแปลงเมือง · เพ็ญสภา สุคตะ - เสน่ห์ภาคสนามกับภาษาในการตั้งชื่อถิ่นฐาน · สถิตย์ ภาคมฤค - จากแม่น้ำโขงสู่สุโขทัย พิษณุโลก และนครไทย ㆍ ดุษฎี ปัญญา - พระธาตุศรีสองรัก สร้อยสัมพันธ์ไทย - ลาว ㆍ สัจภูมิ ละออ - ภาพปก : กุศล คงสวัสดิ์

Tao Dialogue 3 บทวิจารณ์ มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง

เมื่อศาสตราจารย์พิเศษชลธิรา สัตยาวัฒนา (อาจารย์ชล) เชื้อชวนผมให้เขียนถึงคำว่า ‘เต้า’ ใน ‘เต้า’ ตาม ไต ‘เต้า’ ทางไท อันเป็นบรรพสองของ “มหากาพย์ชนชาติไท” ทางหนึ่งจึงนับเป็นเกียรติยิ่งอีกครั้ง จากคราวก่อนที่ได้รับความเมตตาให้โอกาสเขียนถึงคำว่า ‘ด้ำ’ ผีบรรพชนผู้เฝ้าปกปักรักษาสายโคตรตระกูล ในมหากาพย์ฯ บรรพแรก: ‘ด้ำ’ แถน กำเนิดรัฐไท (ชลธิรา พ.ศ.๒๕๖๑)

Dam Dialogue 2 บทต่อเต้าความ “มหากาพย์ชนชาติไท”

ในงานเขียนเรื่อง ‘สาวรกรากต้นตอ คนไท ชุมชนไท-ลาว และความเป็นไท/ไต/ไทย/สยาม’ อันเป็นบรรพแรกของ “มหากาพย์ชนชาติไท” ศาสตราจารย์พิเศษชลธิรา สัตยาวัฒนา (อาจารย์ชล) ได้สืบสาวความหมายของ ‘ด้ำ’ ที่เชื่อมโยงถึงความเชื่อเก่าแก่หลากหลายนัยยะ เน้นย้ำถึงความสำคัญของคำว่า ‘ด้ำ’ อย่างเป็นพิเศษชนิด ‘ยวดยิ่ง’ ว่าคือ คำต้นเค้าต้นแบบอันเก่าแก่ดึกดำบรรพ์ที่มีอิทธิพลอย่างลึกล้ำต่อการ ‘แรก’ สร้างชุมชนสร้างเมืองของพวกไท-กะได โดยเฉพาะสายไท-ลาว-สยาม

นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 123

ก้าวสู่ปีที่ ๑๑ นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๑๒๓ ประจำเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๕ ภาพปก : ไสว แกล้วกล้า เรื่องเด่นในฉบับ ๐ ปรัมปราคติ ‘จามเทวี’ : ที่เป็นยิ่งกว่า ‘ตำนานประวัติศาสตร์’ โดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา ๐ โย้ยในอีศาน โดย สถิตย์ ภาคมฤค ๐ วัดพระพุทธบาทภูควายเงิน ธรรมสถานแห่ง “เชียงคาน” โดย สัจภูมิ ละออ ฯลฯ

วรรณกรรมพินิจ “ทาง” ของ ปรีดา ข้าวบ่อ โดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา

ดิฉันอ่าน “ทาง” ผลงานรวมบทกวีของคุณปรีดา ข้าวบ่อ อย่างรวดเร็ว ได้ข้อสรุปในใจชัดเจน จะขอเริ่มต้นพูดคุยแลกเปลี่ยนเลยนะคะ ถ้าจะจับ ‘ทางกวี’ ของคุณปรีดาในแง่ของความเป็น “อรรถกวี”

นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 85

นิตยสาร “ทางอีศาน” ก้าวเข้าสู่ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๘๕ ประจำเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๒ “นิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไททุกภูมิภาค" เรื่องเด่นในฉบับ • จาก “บารายปราสาทสระกำแพงน้อย” ในแผ่นดินศรีชยวรมัน สู่ “แหล่งน้ำศักดิ์สิทธิ์แห่งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก โดย ธันยพงศ์ สารรัตน์ • ปราสาทรวงข้าว พระธาตุรวงทอง พลังศรัทธากึกก้องของชาวอีสาน โดย ธีรภาพ โลหิตกุล • เพลงประวัติศาสตร์อีสาน ผลงาน อาจินต์ ปัญจพรรค์ โดย สมปอง ดวงไสว • ‘เสือตาย เสือแทน’ : สืบสาวสานสายเสือ โดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา และชายชื้น คำแดงยอดไตย. ภาพปก : สมภาร พรมทา

นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 83

นิตยสารทางอีศาน : ฉบับที่ 83 นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๘๓ ปีที่ ๗ ประจำเดือนมีนาคม ๒๕๖๒ “นิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไททุกภูมิภาค” เรื่องเด่นในฉบับ วิญญาณการเมืองอีสาน โดย รศ.ดร.เสรี พงศ์พิศ ความล่องคง ประวัติศาสตร์ขับขานของชนชาติไท โดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา และชายชื้น คำแดงยอดไตย หลวงพ่อคูณ เทพเจ้าด่านขุนทด ในความทรงจำ โดย สมปอง ดวงไสว พิธีบรมราชาภิเษกในตำนานอุรังคธาตุ โดย ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ เฮาอยู่ยะลา ผ้าป่าทางอีศาน โดย สฤษดิ์ ผาอาจ สิ้นสุดการเดินทาง “อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร” โดย นัทธ์หทัย วนาเฉลิม
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com