งานเขียนชุด “มหากาพย์ชนชาติไท” บรรพสอง ‘หนูไฟ เป่าหน’ นักเดินทางผู้ยิ่งยง คงนามไท (ตอนที่ ๑)
“จางไห่ตื้งซิบสี่ เป่าปี่ขึ้นเมิ้งผี”
ช่าง (นักดนตรี) สิบสี่ (คน) เป่าปี่ขึ้น (ไป) เมืองผี (สวรรค์)
(๒) สู่เวิ้งจักรวาฬอันไพศาล
ฉบับที่แล้วฉันได้เล่าถึงมหานทีสีทันดรไป มานึก ๆ ดูก็รู้สึกจะข้ามขั้นตอนอยู่บ้าง ฉบับนี้จึงขอนอกกรอบของคอลัมน์ภาพกาก แล้วเล่าถึงภาพรวมของจักรวาฬ เพื่อเป็นพื้นฐานในการเสพศิลปะแห่งภาพกากกันในคราวต่อ ๆ ไป ว่าแล้วเราก็มาน้อมจิตกันเสียก่อนที่จะเข้าเรื่องกันเถิด
ประวัติและที่มา ทำไมเวลาคนใกล้สิ้นใจต้องให้ท่องคำว่า “อรหัง”
นับตั้งแต่ยุคต้น ๆ ที่พระมหาเถระนำเข้ามาเผยแผ่ และครอบครัวของนายสมก็ส่งลูกชายเข้าไปบวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนาด้วย คราวนั้นนายสมได้มีอายุมากแล้วประมาณ ๘๘ ปี เกิดล้มป่วยลงตามอายุขัยของมนุษย์ โรคร้ายได้กำเริบขึ้นทุกวันจนอาการป่วยหนักขึ้นทุกวัน พอถึงวันใกล้จะสิ้นใจตายด้วยอำนาจแห่งกรรมไม่ดีที่ตนกระทำมา โดยเฉพาะกรรมที่ออกป่าล่าสัตว์มาแต่ยังเด็ก
“เห็ดเผาะ” ฤดูน้ำ ฤดูฝน ฤดูคนรักเห็ด
“อ้าวเห็ดแท้ ๆ” พ่อจะพูดแบบนี้เสมอหลังฝนตกได้สองสามวัน แล้วอากาศอบอ้าวจนเหนียวตัวมากกว่าปกติ นี่แหละสภาวะที่พอเหมาะต่อการเจริญเติบโตของเห็ดป่า...เริ่มกันที่...เห็ดเผาะ
ตุนอาหาร
พ่อเฒ่าเกรียงศักดิ์ มีลูกเขยชื่อ จักษ์ เป็นคนชอบเล่นไพ่ในระดับต้น ๆ บางครั้งก็ได้ บางครั้งดวงซวยก็เสีย แต่ส่วนใหญ่ก็จะหนักไปทางเสียซะมากกว่า จนพ่อเฒ่าเกรียงศักดิ์ ต้องเตือนแล้วเตือนอีก เนื่องจากสงสารลูกสาวกับหลาน ๆ ต้องหารายได้จากทางอื่นมาเสริม ดูแลครอบครัว
ก้าวสู่ปีที่ ๑๐ ดั่งบั้งไฟดั้นฟ้ากล้าหาญ
[๑]
ไหว้ครู
นิตยสารรายเดือน “อักษรสาส์น” โดย สุภา ศิริมานนท์ บรรณาธิการ และจินดา ศิริมานนท์ ผู้จัดการทั่วไป คือคบไฟที่โชนแสงในความมืด
เชื่อมั่น และศรัทธา
เมื่อสนใจ ตระหนักตื่นรู้เรื่องราวความเป็นมาและควรจะเป็นไปของสังคม ของประเทศชาติบ้านเมือง ย่อมบังเกิดความกระตือรือร้น รู้ตัวของตัวว่าเกิดมาทำไม จะมีลมหายใจอยู่อย่างไร และพร้อมตายเพื่ออะไร ให้สมเกียรติและศักดิ์ศรีที่เกิดมาเป็นคน
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 109
นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๑๐๙ ปีที่ ๑๐ ประจำเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๔ “นิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไททุกภูมิภาค” ..ภาพปก: เรืองศักดิ์ ปัดถาวะโร. เรื่องเด่นในฉบับ • “หนูไฟ เป่าหน” นักเดินทางผู้ยิ่งยง คงนาม...Read More