ทำไมต้องตั้งศาลให้ผีตาแฮกสถิตอยู่
กาลอันล่วงเลยมาสามารถกำหนดช่วงเวลา กำหนดวัน กำหนดเดือน กำหนดปีที่เกิดเหตุการณ์ได้ และสามารถที่จะกำหนดเป็นศตวรรษได้
สุภาษิตแขมร์ ฉบับ พ.ศ. ๒๔๖๗
สุภาษิตโบราณ พากย์เพรงโลกสรดี คำโบราณท่านกล่าว ถากุมบีจิญจิมขลา ว่าอย่าให้เลี้ยงเสือ พากย์เพรงโลกอปมา
The Dawn of the Tai วิธีวิทยาเจาะเวลาหา ‘ยุคเพรางาย’ ~ อรุณรุ่งของชนชาติไท (๓)
แม้วัน-เวลาจะเป็นสิ่งสมมติ...แต่มนุษย์เมื่ออยู่ร่วมกันเป็นสังคม จำเป็นต้องหมายรู้ กำหนดวาระสำคัญ นัดหมาย เพื่อพบปะกันทำกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน หนุ่มสาวบางคู่อาจมี “วันนัด” พบกันเปิดเผยในคืนเดือนเพ็ญ เช่นที่ผู้บ่าวไท-ไต-ลาว ไป “แอ่วสาว” ที่ตนหมายตาไว้
กรองแก้ว เจริญสุข ลูกศิษย์ก้นกุฏิด้านการเขียนกาพย์กลอนของ “นายผี”
ตอนนั้นท่านกลับมาจากเป็นอัยการที่ปัตตานีแล้ว รู้สึกว่าจะลาออกจากอัยการแล้วท่านมาสอน พอรู้ว่าเพื่อนฝูงคนไหนที่อยากรู้กลอนก็สอนหมด แต่ที่สอนอย่างเป็นทางการก็คือป้า
“ผ้าลายหางกระรอก” – “ตำเมี่ยงสะคร่าน” ที่ภูผาม่านขอนแก่น
ภูผาม่าน เป็นอำเภอหนึ่ง ของจังหวัดขอนแก่น อยู่ติดเขตกับจังหวัดเลยและจังหวัดเพชรบูรณ์ อำเภอเล็ก ๆ แห่งนี้มีเสน่ห์มากมาย ไม่ใช่แค่เพียงถ้ำค้างคาว ภูเขาที่มีลักษณะสูงชันสลับซับซ้อนจนดูเหมือนม่าน
(๑๓) “ความเชื่อเรื่องแถน กับ นาฏพิธีหมอลำผีฟ้าพญาแถน”
สภาพสังคมวัฒนธรรมคนไท-ลาวสมัยก่อนนั้นมีการนับถือผีอย่างแนบแน่น จนอาจเรียกว่า ถือ “ศาสนาผี” (ผีแถน หรือ ผีฟ้า) ก็ว่าได้
ท่องทิพยวิมานอีสานใต้ ประทับไว้ในดวงจิต (๑)
วันที่ ๒๒ – ๒๕ พฤศจิกายน ที่ผ่านมา มูลนิธิทางอีศาน จัดรายการทัศนศึกษาแหล่งโบราณสถานประเภทปราสาทหิน ซึ่งมีสถานะเป็น “ทิพยวิมาน” หรือ “เทวาลัย” ของเทพเจ้าในศาสนาฮินดู
เมืองนครจำปาศักดิ์ – ๑ –
เมื่อสมัยเมืองเวียงจันทน์แยกจากหลวงพระบางเป็นสองอาณาจักร พ.ศ.๒๒๓๘ นั้น อาณาเขตเวียงจันทน์ทางทิศตะวันออกตั้งแต่แก่งหลี่ผีขึ้นไป ซึ่งเมืองนครกาละจำบากนาคบุรีศรี ก็อยู่ในเขตแคว้นของเวียงจันทน์ด้วย
พระพุทธรูปนั่ง ทวารวดียุคเก่า ที่บุรีรัมย์
พระพุทธรูปนั่งแบบทวารวดีในภาคอีศาน ที่มีอายุเก่าที่สุดที่พบในประเทศไทย คือพระพุทธรูปนั่งหินสลัก พบที่พื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ (ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา)
อาหารอิสลามในประวัติศาสตร์ไทย
อาหารอิสลามในประวัติศาสตร์ไทย ได้เขียนเรื่องอาหาร ออเจ้า จากเรื่องราวของภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่อง “บุพเพสันนิวาส” ที่ทำให้เกิดกระแส “แม่การะเกด” โด่งดังไปทั่วประเทศไปแล้วถึงสามตอน แต่ก็มีความรู้สึกว่า ยั...Read More
ตระกูลภาษา “ไท-กะได” กับ ไป่เยวี่ย (๓)
จากการศึกษาวิจัย “ตัวอักษร” บนกระดูกทำนาย (เจี๋ยกู่เหวิน 甲骨文 ) ทำให้ทราบว่า ในยุคราชวงศ์ซาง 商 ซึ่งระบบตัวอักษรภาษาจีนเริ่มจะพัฒนาเจริญสุกงอมแล้ว ชื่อ “เยวี่ย” เป็นชื่อของกลุ่มชนที่มีความแตกต่างจากคนของราชวงศ์ซาง แต่นั่นก็มิใช่เรื่องที่จะนำมาอ้างอิงอธิบายได้ว่า กลุ่มคนเยวี่ยเพิ่งจะมีกำเนิดเกิดขึ้นในยุคนั้น (สามพันปีมาแล้ว) เพราะกลุ่มคนที่ถูกเรียกว่า “เยวี่ย” นั้น ควรจะมีอยู่นานแล้ว ก่อนที่จะเกิดตัวอักษรขึ้น มิใช่ว่าผู้คนกับตัวอักษรคำว่า “เยวี่ย” จะกำเนิดขึ้นพร้อมกัน
เรื่องเล่าจากราวตากผ้าของแม่
“แม่ญิ่ง มะติ่งทับซ้าย ผู้ชาย มะติ่งทับ ขวาผู้ฮั่งเซอมะติ่งเงิน สายพี่สายน้อง เอาไว้ มัดไส้แฮ” ความหมาย : เสื้อหมอบของชาวผู้ไทจะ มีลักษณะที่โดดเด่นสังเกตง่าย คือ เสื้อผู้หญิง กระดุมเสื้อจะทับช้าย เสื้อผู้ชายกระดุมจะทับ ด้านขาว ผู้ที่มีฐานะจะสวมใส่เสื้อหมอบที่ติด กระดุมเงิน หรือสตางค์
อุรังคธาตุ-นิทานพเนจร : จุดเริ่มต้น (๒)
เช้าชีวิตของฉันเริ่มต้นขึ้นที่รูปเคารพพญาศรีสัตตนาคที่ริมโขง ฉันอธิษฐานขอให้การตามรอยพระพุทธบาทแห่งมหาบุรุษสำเร็จลุล่วงไร้อุปสรรค เมื่อเกิดขวัญกำลังใจฮึกเหิมแล้วเติมมื้อเช้าเป็นเชื้อเพลิงใส่ท้องอีกหน่อยก็พร้อมเดินทาง โดยมีหมุดหมายอยู่ที่วัดเวินพระบาท หมู่บ้านเวินพระบาท อำเภอท่าอุเทน ห่างจากตัวจังหวัดนครพนมไปราว ๒๘ กิโลเมตร
อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : แผนการจาริก (๑)
หากโลกนี้มีเวทมนตร์สิ่งนั้นเห็นจะเป็น “แม่น้ำโขง” ที่เบื้องหน้าของฉันนี่เอง ก็จะไม่ให้เรียกว่าเวทมนตร์ได้อย่างไร ลองนึกถึงความมหัศจรรย์ของมันดูสิ จากเกล็ดหิมะเล็ก ๆ บนดินแดนหลังคาโลก เมื่อโดนความร้อนจากแสงตะวันจึงค่อย ๆ เปลี่ยนสถานะเป็นหยดน้ำเล็ก ๆ ที่รวมกันจนเป็นลำธาร
(๗) แถน ในวัฒนธรรมสายไทหลวง (ไทใหญ่, ไทมาว, ไทอาหม ฯลฯ)
ข้าพเจ้าขอเรียก ชาวไตในภาคตะวันตกของยูนนาน ในรัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์ (ปัจจุบัน) ในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดียปัจจุบันว่าชาวไตสาย “ไตหลวง” หรือ “ไตสายตะวันตก” เนื่องจากมีตำนานกำเนิดและรากเหง้าวัฒนธรรมคล้ายคลึงกันมาก