Category

ศิลปวัฒนธรรม – ประวัติศาสตร์

ครูช่างสมศักดิ์ มุตะโสภา ผู้อนุรักษ์ “ลายดอกรังฮอ” แห่งอีสานใต้

“หลังจากผมเรียนจบ ป.4 ก็มาทำงานช่วยพ่อที่เป็นช่างทองและเงิน พ่อให้เริ่มทำลายที่ยากที่สุดก่อน ผมฝึกงานช่างฝีมือจากพ่อที่ฝึกฝนทักษะมาจากปู่ และปู่ก็เป็นช่างทอง ได้รับการถ่ายทอดวิชามาจากทวดของผมอีกที ผมเ...
Read More

คำนำสำนักพิมพ์ หนังสือ “มหากาพย์ชนชาติไท ~ เต้าตามไต เต้าทางไท” เล่ม ๑

                       ลึ ก ซึ้ ง ร า ก เ ห ง้ า                       [ลายกลอนนำร่อง ๑]    เห็นไหมนั่นเถื่อนถ้ำโน้นเพิงผา     กลางพนาโขลงช้างชุมทางเสือ ซากวัตถุโครงกระดูกผูกโลงเรือ         สีแต้มเพื่...
Read More

กำหนดการงาน ~ “สู่ขวัญสุวรรณภูมิ” เสวนาวิชาการ เล่าขานเรื่องราวสุวรรณภูมิ

กำหนดการงาน ~ “สู่ขวัญสุวรรณภูมิ” เสวนาวิชาการ เล่าขานเรื่องราวสุวรรณภูมิ วันพฤหัสที่ 30 พฤศจิกายน 2566 เวลา 12.30 - 18.00 น. ณ ห้อง Auditorium ช้ัน 2 ตึก 15 วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต - 12.30 - 12.50 น. ลงทะเบียน

หนังสือ ๓ เล่มชุด “มหากาพย์ชนชาติไท : เต้าตามไต เต้าทางไท”

ชลธิรา สัตยาวัฒนา ใช้ข้อมูลที่ร่ำเรียน สืบเสาะหา และวิจัยมาทั้งชีวิต ใช้เวลาตกผลึกทางความคิด สรุป และเรียบเรียงถึง ๖ ปี แล้วออกแบบรูปเล่ม แนะนำการทำปก ควบคุมการผลิตทุกขั้นตอนอีกปีกว่า บัดนี้ผ่านการพิมพ์ปกมาตรวจความเรียบร้อยสมบูรณ์แล้ว

# ร่วมบุญสร้างหนังสือ

บอกบุญสร้างหนังสือสื่อเพื่อนมิตร มอบอุทิศแด่สังคมอุดมผล บารมีจากปัญญาบันดาลดล สร้างสรรค์สู่สากลสดุดี มหากาพย์ชนชาติไท ~ "เต้าตามไต เต้าทางไท" ใฝ่วิถี สืบสาวลึกรากเหง้าทบเท่าทวี เสริมศักดิ์ศรีมนุษย์รุดหน้าไป

ชายเป็นใหญ่ : จาก “แถน” สู่ “เทพ”*

สำหรับกรณีของวิถีวิวัฒน์สังคมบรรพชนไท|ลาว|สยาม นั้น เป็นที่ประจักษ์จากหลักฐานประวัติศาสตร์ทางภูมิปัญญาว่า ในระยะต่อมา บทบาท อำนาจ และบารมีของผู้นำที่เป็น ‘บรรพบุรุษ’ ได้รับการหนุนเสริมขึ้นสู่ “ความเป็นแถน” (ฟ้า) ตามด้วย “ภาวะแห่งเทพ” (เทวราชา แบบพราหมณ์|ฮินดู) ในพื้นภูมิหลายแห่ง โดยเฉพาะอาณาจักรสมัยทวารวดี ลพบุรี อโยธยา ต่อเนื่องด้วยอยุธยา

“ด้ำเสือ”

“การศึกษาเรื่องราวความเป็นมาของชาวไต โดยเริ่มจากการวิเคราะห์บทเพลงขับขาน “ความล่องคง” ของชาวไทใหญ่ รวมถึงการคัดสรร คำกล่าว คำพังเพย คติพื้นบ้าน ตำนาน สายด้ำ โดยให้ความสำคัญกับสายตระกูล “เสือ” เป็นหลัก ใน มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง ว่าด้วยการ “เต้าตามไต|เต้าทางไท” เพื่อสะท้อนให้เห็นวิถีไทห้วงก่อนประวัติศาสตร์ และประวัติศาสตร์ยุคต้นของสังคมชนชาติไท

ใบลานวัดมณีวนาราม มรดกบรรพชนคนอุบล

วัดมณีวนารามชาวบ้านเรียก“วัดป่าน้อย”  ตั้งอยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สร้างราวปลายสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระอริยวงศาจารย์ (สุ้ย) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก วัดแห่งนี้มีสำนักเรียนพร...
Read More

แถลงการณ์จากผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองร้อยเอ็ด ฉบับที่ ๒

จากการที่มีหน่วยงานราชการบางแห่งทำการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เป็นจริงว่านามร้อยเอ็ดมาจากคำว่าสิบเอ็ดประตู ทั้งยังมีการใช้อำนาจทำการผลิตซ้ำข้อสันนิษฐานอันล้าหลังอย่างต่อเนื่อง ซึ่งนอกจากจะสร้างความเสียหายทา...
Read More

อาจารย์มรภ.ร้อยเอ็ด จี้ อย่าล้มโต๊ะถกปมแก้คำขวัญด้วยวาทะ ‘เกิดไม่ทัน’ ด้อยค่าวิชาการ

ผ.ศ.ปริญ กล่าวว่า เรื่องสิบเอ็ดประตูมาจาก 11 ช่องทาง เป็นเรื่องเก่าที่ได้มีการศึกษาอธิบายมาตั้งแต่ก่อนเปลี่ยนคำขวัญแล้วว่าไม่เป็นจริง คือการศึกษาของพิเศษ เจียจันทร์พงษ์ ผู้เชี่ยวชาญของกรมศิลปากร มีการ...
Read More

ปธ.สภาวัฒนธรรมร้อยเอ็ด แจงที่มาคำขวัญจังหวัด‘สิบเอ็ดประตูเมืองงามฯ’ อ้างอิงแผนที่เข้าเมืองโบราณ มี 11 ช่องทาง

ปธ.สภาวัฒนธรรมร้อยเอ็ด แจงที่มาคำขวัญจังหวัด ‘สิบเอ็ดประตูเมืองงามฯ’ อ้างอิงแผนที่เข้าเมืองโบราณ มี 11 ช่องทาง เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ดร.สาธิต กฤษลักษณ์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด เปิ...
Read More

เสน่ห์อีสานบ้านสาวะถี (ตอน 2 ) รักษาวิถีเพื่อประเพณีอันดีงาม

เสน่ห์อีสานบ้านสาวะถีตอนแรกได้ผ่านสายตาท่านผู้อ่านไปแล้ว โดยได้บอกเล่าเรื่องราวความเป็นชุมชนโบราณผ่านการฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมของคนในชุมชน โดยมีบุคคลสำคัญคือพระครูบุญชยากร เจ้าอาวาสวัดไชยศรี ที่เป็นผู้มอง...
Read More

เสน่ห์อีสานบ้านสาวะถี (ตอนที่ 1) ฟื้นฟูประเพณีวัฒนธรรมนำวิถีสุข

หลายคนคงเคยได้ยินชื่อ “หมู่บ้านสาวะถี”  ตำบลสาวะถี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ที่อยู่ห่างจากตัวเมืองขอนแก่นประมาณ 20 กิโลเมตร แต่อาจจะยังไม่เคยมาเยือนหรือมาท่องเที่ยวที่นี่ สิ่งที่ได้ยิน ได้ฟัง อาจจะเป...
Read More

เต่างอย : พื้นที่ทับซ้อนทางวัฒนธรรมความเชื่อที่ลงตัว

“ไม่มีพื้นที่ใดที่ไม่มีการทับซ้อนทางวัฒนธรรม”           คำกล่าวนี้บ่งบอกสัจธรรมการทำงานศึกษาภาคสนามว่าหากจะถามถึงความเป็นเจ้าแรกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ใดพื้นท...
Read More

สู่เวิ้งจักรวาฬอันไพศาล

พุทธ๐ วนฺทิตฺวา สิรสา สสทฺธ มฺมคณุตฺตม๐ อิท๐ เตภูมิสังฺเขป๐ปวกฺมิ กกฺ อิธ (เมื่อได้วันทาพระพุทธ พร้อมทั้งพระสัทธัมมที่ประเสริฐ ด้วยเศียรด้วยเกล้าแล้ว ข้าพเจ้าจะกล่าวเตภูมิสังเขป) เมื่อครั้งที่โควิด-๑๙...
Read More
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com