พระธาตุศรีสองรัก สร้อยสัมพันธ์ไทย-ลาว
ไทยกับลาวหากสืบสาวรากเหง้าจะพบว่า เรามีสร้อยสัมพันธ์เกาะเกี่ยวกันหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ ภาษา และขนบธรรมเนียมประเพณี หลักฐานที่ยืนยันสร้อยสัมพันธ์ระหว่างไทย-ลาวอย่างหนึ่ง คือพระ...Read More
ตำนานหนองหาร, ท้าวผาแดง-นางไอ่ อธิษฐานข้ามภพและอภัยเพื่อสันติสุข
หนองหารอยู่ในพื้นที่ของอำเภอเมืองและอำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร พื้นที่ราว 77,000 ไร่ เป็นแหล่งน้ำจืดขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากบึงบอระเพ็ดของจังหวัดนครสวรรค์ ใต้ระลอกคลื่นเหนือผิวน้ำหนองหา...Read More
ใบลานวัดมณีวนาราม มรดกบรรพชนคนอุบล
วัดมณีวนารามชาวบ้านเรียก“วัดป่าน้อย” ตั้งอยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สร้างราวปลายสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระอริยวงศาจารย์ (สุ้ย) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก วัดแห่งนี้มีสำนักเรียนพร...Read More
ปราสาทโคกงิ้ว ปราสาทเก่าในเงาอดีตกาล
อิฐทุกก้อน โบราณวัตถุทุกชิ้น ซากปราสาทเก่าทุกองค์ ลวดลายและรูปแบบศิลปะที่ปรากฏอยู่ เสมือนคำบอกเล่าความเป็นมา ให้ผู้คนได้เรียนรู้และเข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ของคนในอดีตกาล หนึ่งในร่องรอยบรรพชนในอดีตกาลนั...Read More
พระยืนพุทธมงคล มหาสารคาม รอยศรัทธาคุณค่าของตำนาน
พระพุทธรูปโบราณประดิษฐานวัดใด ถ้าวัดนั้นบริหารจัดการดี ย่อมเป็นที่สนใจของพุทธศาสนิกชน เสมือนมีแม่เหล็กดึงดูดคนให้เข้าวัด อย่างพระพุทธรูปยืนพุทธมงคล วัดพุทธมงคล อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม พระคู่บ...Read More
“วัดเขาศาลา” หลวงพ่อเยื้อน สงบงามผืนป่าอารยธรรม
พื้นที่ที่เรานิยมเรียกกันว่า “อีสานใต้” เป็นแหล่งอารยธรรมมาแต่เก่าก่อน ร่องรอยอารยธรรม นักโบราณคดีและผู้คนค้นพบเพิ่มเติมอยู่เนือง ๆ
มณีในเอกสารโบราณ สมุดไทย ใบลานวัดบ้านม่วงน้อย
สมัยเก่าก่อน เราชาวบ้านเจ็บไข้ได้ป่วยไม่ได้ไปโรงพยาบาล เรารักษากันเอง หรือไม่ก็ไปหาหมอในหมู่บ้าน นั่นคือหมอสมุนไพร หรือไม่ก็หมอคาถาอาคม ให้ช่วยรักษาและขจัดปัดเป่าโรคภัย
แหล่งตัดหินสร้างประสาทของขอมโบราณในอีสานใต้
มรดกอารยธรรมในอีศานใต้อย่างหนึ่งคือ ปราสาทขอมโบราณ สาเหตุที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แต่ไม่ดับไปก็เพราะว่า สร้างด้วยหิน ความทนทานของหิน ทำให้รูปจำหลัก และลวดลายยังคงรูปทรงไว้ อนุชนรุ่นหลังจึงได้เห็นได้ภูมิใจ และได้ศึกษาภูมิปัญญาของบรรพชน
สะดืออีสาน
สะดืออีสาน อยู่ติดกับบึงน้ำขนาดใหญ่ชื่อว่าบึงกุย ตั้งอยู่ที่หมู่ 13 ตำบลหัวขวาง อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม สถานที่แห่งนี้ชาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือทราบกันดีว่าเป็นสัญลักษณ์หนึ่งของแดนอีสาน
วัดกู่ประภาชัย แบบบทของการดูแลพุทธสถาน
กู่ประภาชัยตั้งอยู่ในพื้นที่ของ “บ้านนาคำน้อย” ตำบลบัวใหญ่ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เป็นพุทธสถานขอมโบราณ สร้างราวสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ หรือพุทธศตวรรษที่ ๑๘ นับเป็นอีกหนึ่งมรดกภูมิปัญญาบรรพชนคนอีสาน
พระพุทธมิ่งเมือง พระพุทธรูปยืนวัดสุวรรณาราม
วัดพุทธมงคลประดิษฐานพระพุทธรูปยืนมงคล ขณะที่วัดสุวรรณาวาส ประดิษฐานพระพุทธมิ่งเมือง พระพุทธรูปทั้งสองมีตำนานเกาะเกี่ยวกัน คนสร้างคนเดียวกัน ทั้งสององค์เป็นศูนย์รวมใจของชาวมหาสารคาม และพุทธศาสนิกชนทั่วไป
มณีในเอกสารโบราณ สมุดไทย ใบลานวัดบ้านม่วงน้อย
ร่องรอยภูมิปัญญาต่าง ๆ ที่ยืนยันว่า “หมอชาวบ้าน” มีอยู่จริง ร่องรอยหนึ่งปรากฏอยู่ในบันทึกเอกสารโบราณ แล้วแต่หมอยาท่านจะจดจารไว้ด้วยวิธีใดและใช้วัสดุอะไร การจดจารที่พบบ่อย ๆ คือจารไว้ในสมุดไทยและใบลาน อย่างที่วัดบ้านม่วงน้อย หมู่ที่ ๕ ต.แพง อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม เป็นต้น
ไหหินโบราณวัดโพธิ์ศรี รอยอดีตที่ฝังอยู่ใต้ดิน
วัฒนธรรมบรรจุศพไว้ในไห คนโบราณในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากพบที่ทุ่งไหหิน เมืองเชียงขวาง ในประเทศลาวแล้ว ยังพบที่บ้าน “เชียงเหียน” จังหวัดมหาสารคามในประเทศไทยด้วย
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน แหล่งภูมิปัญญาชาวอีสาน
“โรงเรียนฝึกหัดครู” ในอดีตนั้น ต่อมาก็คือ “วิทยาลัยครู” เปลี่ยนชื่อมาเป็น “สถาบันราชภัฏ” และปัจจุบันคือ “มหาวิทยาลัยราชภัฏ” สถาบันนามนี้ยุคสมัยหนึ่งเคยได้ชื่อว่าเป็น “มหาวิทยาลัยคนยาก” ฉายานี้ได้มาเพราะคนในชนบทสมัยก่อน ๆ แม้จะเรียนเก่งปานใด โอกาสที่จะได้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยในเมืองนั้นยากเต็มที่
จิตรกรรมฝาผนัง วัดทุ่งศรีเมือง ภาพฉายวิถีชีวิตคนอุบลฯในอดีต
วัดเป็นสถานที่รวบรวมศิลปะแต่ละสมัยไว้ได้อย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ภาพจิตรกรรมฝาผนัง” พระอารามเก่า ๆ มักมีภาพจิตรกรรมฝาผนังยุคที่วัดนั้น ๆ สร้างขึ้นมาปรากฏอยู่ และแน่นอนว่า ช่างเขียนภาพในโบสถ์ วิหารต่าง ๆ ย่อมเป็นช่างเขียนชั้นดี อย่างน้อยก็ดีที่สุดเท่าที่ทางวัดนั้น ๆ จะเฟ้นหามาได้