By

ชลธิรา สัตยาวัฒนา

“นายผี” ศึกษา ฉบับปฐมบท

ว่าด้วย “นายผี” ศึกษากับ ปริศนาที่ค้างคาข้ามปีที่ตั้งโจทย์ไปให้ตอบ สองข้อ ให้ครบถ้วน (พร้อมเหตุผล) ว่าใครเขียน? ถึงใคร? ปรากฏว่า ไม่มีผู้ใดตอบได้ถูกต้องครบถ้วนตามกติกานะคะ ผู้ที่ตอบว่า “นายผี” เขียนจด...
Read More

“จิตร ภูมิศักดิ์ : กวีนักคิด-นักรบของประชาชน ไม่มีวันตาย”

ศ.พิเศษ ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนาเขียนขึ้นในโอกาสรับรางวัล “จิตร ภูมิศักดิ์”“วัน จิต(ร)เสรี” ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๗ พิจารณารางวัลและจัดพิธีมอบ ณ ลานจักรพงษ์โดย สภานิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ มูลนิธิ จิตร ภู...
Read More

# มหากาพย์ชนชาติไท “เต้าตามไต เต้าทางไท” เขียนโดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา, ชายชื้น คำแดงยอดไตย #

# ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนา นักวิชาการของประชาชนกับผลงานล่าสุดที่ตกผลึกทางความคิด ลุ่มลึก เธอจัดเจนอักษรศาสตร์หลากภาษา; มีประสบการณ์สนามที่แลกด้วยชีวิต ขึ้นเขาลงห้วยมาแล้วทั้งในแดนไทย ลัวะ...
Read More

งานเขียนชุด “มหากาพย์ชนชาติไท” บรรพสอง ‘หนูไฟ เป่าหน’ นักเดินทางผู้ยิ่งยง คงนามไท (ตอนที่ ๒)

วัฒนธรรมบั้งไฟ” จัดอยู่ในสังกัดร่วม ‘สายวัฒนธรรมแถน’ ของชาวไท|ลาว กลุ่มต่าง ๆ ที่สืบสายเชื้อเครือมาจาก ‘ชาวไป่เยวี่ย’ ในส่วนสายชาติพันธุ์ไท มายาวนานแต่โบราณสมัย จากการวิจัยสนามของนักวิชาการหลายท่าน รวมทั้งของผู้เขียนเอง ข้อมูลสนามบ่งชี้ว่า ประเพณีบุญบั้งไฟของชาวไทยถิ่นอีสานอยู่ร่วมบริบทประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมมากับชาวลาวแห่งอาณาจักรล้านช้าง

งานเขียนชุด “มหากาพย์ชนชาติไท” บรรพสอง ‘หนูไฟ เป่าหน’ นักเดินทางผู้ยิ่งยง คงนามไท (ตอนที่ ๑)

“จางไห่ตื้งซิบสี่ เป่าปี่ขึ้นเมิ้งผี” ช่าง (นักดนตรี) สิบสี่ (คน) เป่าปี่ขึ้น (ไป) เมืองผี (สวรรค์)

บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๓)

ปัจจุบัน ‘กวีนิพนธ์ชาติพันธ์ุวรรณนา’ ได้รับความสนใจมากขึ้นในฐานะเป็น ‘ศาสตร์’ ที่ได้รับอิทธิพลจากทั้งวิชาคติชนวิทยา มานุษยวิทยา และวัฒนธรรมศึกษา ตามแนวคิดหลังสมัยใหม่

บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๒)

อีกหนึ่งตัวอย่าง ที่ดูง่าย ๆ แต่ก็ลึกซึ้ง คือบทกวีที่มีชื่อว่า “เล่นนอก” เป็นบทกวีที่ผู้เขียนชื่นชอบมากเป็นพิเศษอีกบทหนึ่ง

บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๑)

ผู้เขียน อ่าน “ทาง” ผลงานรวมบทกวีของ “ปรีดา ข้าวบ่อ” จบเล่มรวดเดียวเมื่อราวสามสี่ปีก่อน เพื่อใช้พูดสดในงานประชุมเสวนาทางวรรณกรรมครั้งหนึ่งของนิตยสารทางอีศาน ที่ไร่จิมทอมป์สัน ซึ่งคุณปรีดา ข้าวบ่อ บรรณาธิการทางอีศาน ได้ใช้โอกาสนั้นเปิดตัวหนังสือรวมผลงานกวีของตนเอง ชื่อว่า “ทาง”

Dam~Tao Dialogue 1 บทวิจารณ์มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง “เต้าตามไต เต้าทางไท”

​ปัญหาอย่างหนึ่งของงานโบราณคดีโดยทั่วไปคือ การอธิบายความหมายและนัยยะของโบราณวัตถุให้เกินระดับพื้นผิวของวัตถุ โดยมากทำได้แค่เพียงอธิบายว่าโบราณวัตถุแบบเดียวกันนี้พบที่ไหนบ้าง ซึ่งเป็นผลมาจากพื้นฐานของงานโบราณคดี (และประวัติศาสตร์ศิลปะ) นั้นตั้งอยู่บนการศึกษาเชิงรูปแบบ (Form/Formalism) เป็นหลัก อาจมีบ้างที่พยายามจะถอดสัญญะความหมายแต่ก็เป็นไปอย่างตรงไปตรงมา

Tao Dialogue 6 ต่อเต้าความ เรื่องสัญรูป|สัญอักษร “เต้าตี”

การสลักลวดลายสัญญะบนศิลปะวัตถุสำริด (Bronze vessels) สมัยปลายราชวงศ์ซาง ต่อเนื่องด้วยระยะต้นและระยะกลางของราชวงศ์โจวตะวันตก จัดว่าเป็น ‘ทวิสัญญะ’ ที่ทับซ้อนกัน คือมีทั้งส่วนที่เป็น ‘สัญรูป’ และ ‘สัญอักษร’ หรือนัยหนึ่งคือ ‘อักขระโบราณ’ แต่ดึกด้ำปางบรรพ์ ซึ่งจนทุกวันนี้ก็ยังไม่มีใครอ่านออกและให้ความหมายได้ชัดเจน

Tao Dialogue 5 บทสนทนาว่าด้วยเรื่อง ‘เต้า’ บทบาททางพิธีกรรม

‘เต้า’ ในฐานะภาชนะ บรรจุของเหลว เช่น น้ำ หรือเหล้า ฝรั่งคงนึกไม่ออกว่า ‘น้ำ’ มีความพิเศษเฉพาะอย่างไรในพิธีกรรม เมื่อมีการขุดพบศิลปะวัตถุโบราณ ที่บรรจุของเหลวได้ มักนิยามสิ่งนั้นว่า เป็น ‘wine container’

Tao Dialogue 4 บทสนทนาว่าด้วยคำ ‘เต้า’ จาก ‘เต้า’ จุดกำเนิด สู่ ‘เก๊ง~เคียง~เชียง’ ที่ตั้งมั่น

Tao Dialogue 4 บทสนทนาว่าด้วยคำ ‘เต้า’ จาก ‘เต้า’ จุดกำเนิด สู่ ‘เก๊ง~เคียง~เชียง’ ที่ตั้งมั่น โดย ชายชื้น คำแดงยอดไตย

Tao Dialogue 3 บทวิจารณ์ มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง

เมื่อศาสตราจารย์พิเศษชลธิรา สัตยาวัฒนา (อาจารย์ชล) เชื้อชวนผมให้เขียนถึงคำว่า ‘เต้า’ ใน ‘เต้า’ ตาม ไต ‘เต้า’ ทางไท อันเป็นบรรพสองของ “มหากาพย์ชนชาติไท” ทางหนึ่งจึงนับเป็นเกียรติยิ่งอีกครั้ง จากคราวก่อนที่ได้รับความเมตตาให้โอกาสเขียนถึงคำว่า ‘ด้ำ’ ผีบรรพชนผู้เฝ้าปกปักรักษาสายโคตรตระกูล ในมหากาพย์ฯ บรรพแรก: ‘ด้ำ’ แถน กำเนิดรัฐไท (ชลธิรา พ.ศ.๒๕๖๑)

TAO Dialogue 1 เวทีสังสันทน์ ว่าด้วยเรื่อง “เต้า”

มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง “เต้าตามไต เต้าทางไท” กำลังใกล้จะสำเร็จเป็นรูปเล่มเพื่อให้บริการทางวิชาการแก่สาธารณชน โดยผู้เขียนทั้งสองถือเป็น ‘วิทยาทาน’ แก่สังคม

TAO Dialogue 2 “เต้า” สนทนา จากประสบการณ์อ่านวรรณคดี บนฐานคิด ‘มานุษยวิทยาสัญนิยม’

บนฐานคิดที่ว่า ‘ภาษา’ มีชีวพันธุกรรมต้นกำเนิด มีการแตกตัว เคลื่อนไหว เดินทาง กระจายตัว แม้ถูกกลืนกลาย ก็ยังสาวหารากร่วมได้ โดยการใช้ ‘กุญแจคำ’ ไขรหัสสิ่งที่เป็น ‘วัฒนธรรมร่วมเชื้อสาย’
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com