ท่องเที่ยววัฒนธรรม “ทางอีศาน” ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ( 8 )
~ ไหว้พระธาตุนารายณ์เจงเวง หรือ "อรดีมายานารายณ์เจงเวง" โดยกลุ่มสตรีเมืองหนองหารหลวงสร้างแข่งขันกับกลุ่มบุรุษชาวเมืองหนองหารน้อย เพื่อรอรับพระมหากัสสปะเถระนำพระอุรังคธาตุไปบรรจุยังภูกำพร้า หากฝ่ายใดสร้างเจดีย์ใหญ่เสร็จก่อนดาวเพ็กขึ้นฝ่ายนั้นชนะ
ท่องเที่ยววัฒนธรรม “ทางอีศาน” ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ( 7 )
ตื่นตาตื่นใจและยืดกำลังขา ณ ปราสาทพระธาตุภูเพ็ก ดินแดนลอยฟ้าศักดิ์สิทธิ์ของอาณาจักรขอมโบราณ สมัยพุทธศตวรรษที่ 16 บนยอดเขาภูเพ็ก สูงจากระดับน้ำทะเล 520 เมตร สร้างด้วยหินทราย เรือนธาตุตั้งบนฐานยกสูง ตอนหน้าของปราสาทมีฐานหินเรียงซ้อนกัน มีบาราย ด้านหน้าอาคารปราสาททางทิศตะวันออกมีบันไดก่อปูนขึ้นบนยอดเขาเกือบห้าร้อยขั้น
ท่องเที่ยววัฒนธรรม “ทางอีศาน” ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ( 6 )
~ ชมพิพิธภัณฑ์เมืองสกลนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร พาชมโดย อาจารย์สถิตย์ ภาคมฤค พร้อมทีมงานและลูกศิษย์
~ ชมห้องแห่งแรงบันดาลใจของ จิตร ภูมิศักดิ์
ท่องเที่ยววัฒนธรรม “ทางอีศาน” ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ( 5 ) อาจารย์เสรี พงศ์พิศ นำเที่ยวบ้านท่าแร่
อาจารย์เสรี พงศ์พิศ นำเที่ยวบ้านท่าแร่ - ชุมชนชาวคริสต์นิกายโรมันแคทอลิกที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ชมตึกเก่ากำแพงหิน - สถาปัตยกรรมสไตล์อินโดจีนฝรั่งเศสที่มีเอกลักษณ์และเทคนิคการก่อสร้างเฉพาะตน
ท่องเที่ยววัฒนธรรม “ทางอีศาน” ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ( 4 ) คารวะครูเตียง ศิริขันธ์
คารวะครูเตียง ศิริขันธ์ ณ อนุสาวรีย์ขุนพลภูพาน
บนเทือกเขาภูพาน จังหวัดสกลนคร
ท่องเที่ยววัฒนธรรม “ทางอีศาน” ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าสู่แอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ( 3 )
ท่องเที่ยววัฒนธรรม"ทางอีศาน" ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าสู่แอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ณ ห้องแห่งแรงบันดาลใจ ~ จิตร ภูมิศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ( 3 )
ท่องเที่ยววัฒนธรรม “ทางอีศาน” ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ( 2 )
ท่องเที่ยววัฒนธรรม"ทางอีศาน" ครั้งที่ 3
มุ่งหน้าแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ
( 2 ) สักการะและชมอาคารพิพิธภัณฑ์บริขาร พระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ และเจดีย์จันทโรเจติยานุสรณ์ ที่วัดป่าสุทธาวาส
ท่องเที่ยววัฒนธรรม”ทางอีศาน” ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ( 1 )
ท่องเที่ยววัฒนธรรม"ทางอีศาน" ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ เยือนพิพิธภัณฑ์ภูพาน แหล่งเรียนรู้แห่งใหม่ของสกลนคร ดินแดนอารยธรรม 4 ธรรม ได้แก่ ธรรมะ ธรรมชาติ วัฒนธรรม อารยธรรม
เชิญร่วมกิจกรรม ฟังประวัติศาสตร์วัฒนธรรมบอกเล่า ที่ไม่เคยเล่าที่ไหนมาก่อน จากปากคำลูกหลานคนท่าแร่ รศ.ดร.เสรี พงศ์พิศ สลับการแสดงดนตรีอีศานคลาสสิกวง”หมาเก้าหาง”
วันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม 2565 เวลา13.00 น. ~ 15.00 น.
ณ โบสถ์อาสนวิหารอัครเทวดามีคาแอล ท่าแร่ สกลนคร
ญาติมิตรชาวสกลนครพร้อมต้อนรับ สมาชิกคณะท่องเที่ยวแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ระหว่างวันที่ 21 – 24 ตุลาคม 2565
ญาติมิตรชาวสกลนครพร้อมต้อนรับ
สมาชิกคณะท่องเที่ยวแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ
ระหว่างวันที่ 21 - 24 ตุลาคม 2565
# ตุ้มโฮมเพื่อนเที่ยวครั้งที่ 3 โดย นิตยสาร|มูลนิธิ|"ทางอีศาน" โทร.0863782516
เชิญชวนท่องเที่ยววัฒนธรรมทางอีศาน (ครั้งที่ 3) “เที่ยวแอ่งอารยธรรมอีสานเหนือ ~ สกลนคร”
เชิญชวนท่องเที่ยววัฒนธรรมทางอีศาน (ครั้งที่ 3) "เที่ยวแอ่งอารยธรรมอีสานเหนือ ~ สกลนคร"
ระหว่างวันที่ 21-24 ตุลาคม 2565
ตุ้มโฮมเพื่อนมิตรโดย นิตยสาร|มูลนิธิ|"ทางอีศาน" นำเที่ยวโดย รศ.ดร.เสรี พงศ์พิศ และคณะวิทยากรชำนาญการ *เปิดรับสมาชิกเพิ่มอีก 24 ท่าน รับสมัครภายในเดือนกรกฎาคมนี้เพื่อจะได้ทันจองเที่ยวบินเดียวกัน
เรียนเชิญมิตรสหายใกล้พื้นที่ร่วมพบปะ|สมทบ|ขบวนครับ
เรียนเชิญมิตรสหายใกล้พื้นที่ร่วมพบปะ|สมทบ|ขบวนครับ ท่องเที่ยววัฒนธรรมทางอีศาน (ครั้งที่ 3) "เที่ยวแอ่งอารยธรรมอีสานเหนือ ~ สกลนคร" ระหว่างวันที่ 4 - 7 มีนาคม 2565 ติดต่อ/ประสานงาน คุณแตงกวา 086 388 9095, คุณปุ๊ก 086 378 2516
พร้อมต้อนรับ สมาชิกคณะท่องเที่ยวแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ~ สกลนคร ระหว่างวันที่ 4 – 7 มีนาคม 2565
พร้อมต้อนรับ สมาชิกคณะท่องเที่ยวแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ~ สกลนคร ระหว่างวันที่ 4 - 7 มีนาคม 2565
# ตุ้มโฮมเพื่อนเที่ยวครั้งที่ 3 โดย นิตยสาร|มูลนิธิ|"ทางอีศาน" โทร.0863782516
งามงานวัฒนธรรม – รัศมี 20 กิโลเมตรรอบพนมรุ้ง
บุรีรัมย์เพียงจังหวัดเดียวมีโบราณสถานรวม 279 แห่ง แบ่งเป็นบุรีรัมย์ตอนเหนือ 128 แห่ง ตอนใต้ 151 แห่ง ทั้งที่มีชื่อและไม่ปรากฏชื่อ ทั้งที่ขึ้นทะเบียนกับกรมศิลปากรแล้วและยังไม่ได้ขึ้น นี่ไม่นับรวมที่ซุกซ่อนอยู่ตามที่ราบลุ่มและบนแนวเทือกพนมดงเร็ก
เที่ยวจิม ทอมป์สัน ฟาร์ม
บนพื้นที่ร่วมร้อยไร่ที่จัดสรรสำหรับต้อนรับนักท่องเที่ยว นอกจากสัมผัสรับรู้พื้นฐานกิจการเพื่อผลิตภัณฑ์ไหมไทย พืชผักน่ากิน ดอกไม้งาม สถาปัตยกรรมเด่น ฯลฯ แล้ว ยังมีหมู่บ้านอีสาน ประกอบด้วยการอนุรักษ์เรือนไม้อายุนับร้อย ๆ ปีจำนวนมาก มีการถ่ายทอดวัฒนธรรมอารยธรรมคนบนที่ราบสูงทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยไว้อย่างสมภาคภูมิ โดยในแต่ละปีจะมีการกำหนดแก่นแกนหลักของงาน แล้วทุกตารางนิ้วบนผืนดินงามน้ำชุ่มก็ประดิษฐ์ปลูกสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ขึ้น