Category

ศิลปวัฒนธรรม – ประวัติศาสตร์

อีสานปกครองตนเอง

ระบอบประชาธิปไตยแบบที่ประเทศไทยเราใช้ปกครองกันอยู่ในปัจจุบัน เป็นระบอบที่เราลอกเลียนมาจากการปกครองในประเทศตะวันตก ด้วยความจำเป็นของกระแสโลกที่เราจะต้องเดินตามแบบเขาประการหนึ่ง และความหลงในความศิวิไลซ์ของชาวฝรั่งอีกประการหนึ่ง

ภูมินามแม่นํ้าโขง : หลันชางเจียง กิวลุ่งเกียง เก้าลวง กาหลง

เรื่องราวของแม่นํ้าโขงเป็นมหากาพย์หลากสีสันที่เล่าขานไม่มีวันจบสิ้น ไม่ว่าจะหยิบยกประเด็นใดที่เกี่ยวกับแม่น้ำโขงขึ้นเสวนาล้วนแต่สร้างสีสันอันน่าติดตามทั้งสิ้น สายน้ำที่มีความยาวถึง ๔,๙๐๙ กิโลเมตรที่พาดผ่านจากจีน พม่า ลาว ไทย กัมพูชา ถึงเวียดนาม ย่อมทําให้แต่ละท้องถิ่นมีนามเรียกขานแม่น้ำโขงที่แตกต่างกันออกไป และต่างมีเรื่องเล่าที่พยายามอธิบายความหมายของแม่นํ้าโขงตามทัศนะของตน ดังที่จะได้ร่วมกัน “เปิดผ้าม่านกั้ง” เรื่องราวของ “ภูมินามแม่นํ้าโขง”

ปู่น้ำเงิน เบ็ญพาด : ปราชญ์ผู้นำอนุรักษ์จุดประทีปตีนกาของเมืองกาญจน์

กว่าจะเป็นปราชญ์ต้องเป็นปู่ ศึกษาเป็นผู้รู้ดำรงที่องอาจ กอปรด้วยรักเมตตาเป็นสามารถ เป็นที่นับถือของเบญพาดทุกรูปนาม

รฦก ๔๘ ปี “๑๔ ตุลา ๒๕๑๖”

เมื่อเดือนตุลาคม ๒๕๑๖ ประชาชนทุกสาขาอาชีพ นักเรียน นักศึกษา คนหนุ่มสาว นับหมื่นนับแสนออกจากบ้านไปร่วมส่วนการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ หลายคนไม่ได้กลับบ้านอีกเลย บางคนกลับไปด้วยร่างกายพิการ บางคนกลับไปด้วยความรู้สึกใหม่ เหตุการณ์ ๑๔ - ๑๕ ตุลาคม มีผู้เสียชีวิต ๗๑ คน บาดเจ็บ ๘๕๗ คน

บทนำ ฉบับ “ฟ้าใหม่”

นักคิดนักเขียนที่มีความคิดก้าวหน้าคนหนึ่ง ให้ความหมายของศิลปไว้ว่า ศิลป คือผลิตกรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อสะท้อนถ่ายความจัดเจนในทางสร้างสรรค์ที่ได้รับจากการต่อสู้ของชีวิต ทั้งในทางธรรมชาติและทางสังคม ทั้งนี้โดยสะท้อนถ่ายออกมาในแง่ความงาม แนบแน่นกับความเป็นจริง มีความตรึงตราและง่ายในระดับที่ประชาชนส่วนข้างมากสามารถชื่นชม และเข้าใจได้ อย่างน้อยก็ในช่วงระยะเวลาที่มันถือกำเนิดขึ้นมา

ว่าด้วยเงือก (๔) ขวัญไทดํา จากองค์ความรู้ของ ดร.คําจอง

ต้นเค้ากำเนิดบทความเรื่อง “เงือก” ของข้าพเจ้า เริ่มจากวันไปร่วมงานของ “มูลนิธิโกมล คีมทอง” แล้วแวะเข้าศูนย์หนังสือธรรมศาสตร์เห็นหนังสือชุด “ด้วยรัก” รวมบทความในโอกาสศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา อายุ ๗๒ ปีเรื่อง “ชนชาติไท” ราคาห้าร้อยบาทรีบซื้อทันทีเมื่อพลิกดูพบภาพ “เงือก” เป็นครั้งแรกที่ได้เห็น (เคยตีพิมพ์มาแล้วในหนังสือ TAI CULTURE iii - 2 , December 1998 แต่ข้าพเจ้าไม่มีหนังสือเล่มนั้น) ตื่นเต้นมาก

ฟันดาบไทย-ลาว การละเล่นใน “สมุทรโฆษคําฉันท์”

มหรสพ (entertainment) หรือการละเล่น (amusement) ของสยามในอดีตส่วนใหญ่สูญหายไม่มีแสดงกันแล้วในสังคมทั่ว ๆ ไป หลักฐานที่จะสืบค้นหาได้คือ พวกเอกสารประวัติศาสตร์, วรรณคดีและภาพจิตรกรรมฝาผนัง เป็นต้น

ว่าด้วย เงือก (๓) คติความเชื่อเรื่องเงือกของชาวไทในเวียดนามและลาว จากเอกสารภาษาไทย

แหล่งข้อมูลเรื่อง “เงือก” ส่วนสำคัญที่สุด คือ คติความเชื่อและลายผ้าของชาวไท – ไต ในเวียดนาม ที่มิได้รับอิทธิพลศาสนาพุทธ แม้ว่าข้อมูลที่นักวิชาการชาวไทยค้นคว้าเผยแพร่เป็นภาษาไทยจะยังมีไม่มาก แต่ข้าพเจ้าก็ขอนําเสนอข้อมูลเหล่านั้นเป็นเบื้องต้นก่อน

“ตามรอยวีรชนประชา ด้วยก้าวที่กล้า สโมสร’19”

เมื่อเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 ผ่านไปแล้ว 20 ปี เราจึงได้มาร่วมจัดงานรำลึกที่มีกิจกรรมทางการเมืองเป็นเนื้อหาหลัก ซึ่งรอบปีก่อนหน้านั้นจัดเพียงพีธีทางศาสนา

ส่อวีรชน [๖-จบบ่จบ]

พี่ซายคุณบอก... ถ้าน้องผมยังบ่ตายครอบครัวสิรุ่งโรจน์กว่านี้ คำเว้าเพิ่นประโยคนี้ถืกต้องอีหลี ซึ่งพวกเฮาอยากเพิ่มเติมว่า ด้วยความเสียสละของคุณทั้งสองและวีรชนคนกล้าทั้งเหมิด ที่ได้เป็นแบบอย่าง เป็นแรงศรัทธา แรงบันดาลใจให้แก่คนรุ่นหลัง ให้ตระหนักฮู้และร่วมกันลุกขึ้นสู้ สังคมไทยต้องเปลี่ยนแปลง คนไทยเฮา ประเทศไทยเฮาต้องรุ่งโรจน์แน่นอน

เงินตราโบราณ ในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๑๑)

เงินตราที่ได้เข้ามามีบทบาทในดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขง หรือดินแดนภาคอีสานในปัจจุบัน เมื่อราวร้อยกว่าปีที่แล้ว นอกจากเงินตราของสยามที่เป็นเหรียญแบนซึ่งผลิตในสมัยรัชกาลที่ ๕ แล้ว ยังมีเงินตราอีกหลายประเภทที่เข้ามามีบทบาทเป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนของคนลาวฝั่งขวาแม่น้ำโขงหลังเกิดเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒

ส่อวีรชน [๕]

ฮู้มาที่หลังว่า คุณทั้งสองเรียนแผนกไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.นครราชสีมา เป็นนักกิจกรรมที่ขยันขันแข็งตั้งแต่สวมเครื่องแบบนักศึกษา

ส่อวีรชน [๔]

มวลหนังสือก้าวหน้าหลังและก่อนเหตุการณ์ ๑๔ ตุลา ๒๕๑๖ มีพิมพ์ออกมาหลายคัก นั่นเป็นองค์ความฮู้ของผู่เกิดผู่มาก่อน ผู่เป็นนักคิดนักเขียนจากต่างประเทศและบ้านเฮา เป็นยุคสมัยที่วงงานหนังสือคึกคัก

ส่อวีรชน [๓]

พวกเฮาดีใจหลายที่ได้เห็นภาพหน้าตา ได้ฮู้นิสัยใจคอที่สุขุม เยือกเย็น เว้าน้อย ตรงไปตรงมาของคุณทั้งสอง ทั้งได้ฮู้จักบ้านเกิด ได้ยินคำบอกเล่าเรื่องของคุณจากพี่ซายพี่สะใภ้
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com