นิตยสารทางอีศาน ฉบับปัจจุบัน

Sticky Post

ทางอีศาน ฉบับที่ 144

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ 144 ฉบับที่ ๑๔๔ ปีที่ ๑๒ ประจำเดือนเมษายน ๒๕๖๗ เรื่องเด่นในฉบับ๐ “เต้าตามไต เต้าทางไท” เต้าไกลถึงปักษ์ใต้ | ศ.พิเศษ ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนา๐ นาฏลีลา โนรารู้รักแม่ | ดร.กณิศ ศรีเปารยะ๐ “ผ้าทอนาหมื่นศรี…วิถีความเป็นแม่ ความเป็นเมีย” | ดร.ชนกมลย์ คงยก๐ “วิถีชน คนเป็นแม่” พินิจแนวคิด “เต้าไท”ฯ | ผศ.ดร.ทวีลักษณ์ พลราชม๐ “แตก ‘ฉาน’ ซ่านเซ็น” ประสบการณ์วิจัยสนามในเมียนมาร์ | ดร.ชุติมา สีดาเสถียร๐ ลี้เศร้า~เต้าแตก~สาแหรกขาด จากจีนสู่ไทยฯ | ผศ.ดร.เธียรชัย อิศรเดช๐ ลมมรสุม | ...
Read More

เรื่องเด่น

{"page-item-id":"box1_2","title-type":"left","title":"\u0e40\u0e23\u0e37\u0e48\u0e2d\u0e07\u0e40\u0e14\u0e48\u0e19","title-background":"","title-link":"","category":"","tag":"%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%ad%e0%b8%b5%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%99143","num-fetch":"4","blog-style":"blog-widget-large","with-feature":"enable","with-tag":"disable","blog-size":"3","blog-layout":"carousel","num-excerpt":"0","thumbnail-size":"post-widget-left-featured","feature-thumbnail-size":"medium","orderby":"date","order":"desc","offset":"","pagination":"disable","enable-sticky":"enable","margin-bottom":"0","carousel":true,"carousel-class":" newsstand-blog-ajax "}

ข่าวเด่น / บทความล่าสุด

โครงสร้างสังคมไทย
โครงสร้างสังคมไทย

มกราคม 30, 2025

โลกหลังประชาธิปไตย (6)
โลกหลังประชาธิปไตย (6)

มกราคม 28, 2025

โลกหลังประชาธิปไตย (5)
โลกหลังประชาธิปไตย (5)

มกราคม 28, 2025

โลกหลังประชาธิปไตย (4)
โลกหลังประชาธิปไตย (4)

มกราคม 28, 2025

โลกหลังประชาธิปไตย (3)
โลกหลังประชาธิปไตย (3)

มกราคม 28, 2025

previous arrow
next arrow

ปรีดา ข้าวบ่อ จากผู้กรุย ‘ทางอีศาน’ สู่บรรณาธรเกียรติยศ ‘ถ้าไม่ขบถ อย่าเขียน’…

ปรีดา ข้าวบ่อ จากผู้กรุย ‘ทางอีศาน’ สู่บรรณาธรเกียรติยศ ‘ถ้าไม่ขบถ อย่าเขียน’...

รำลึกและอาลัยยิ่ง ทองแถม นาถจำนง – “โชติช่วง นาดอน” บรรณาธิการวิชาการ ผู้ร่วมก่อนก่อตั้งบุกเบิกนิตยสารทางอีศาน

รำลึกและอาลัยยิ่ง ทองแถม นาถจำนง - “โชติช่วง นาดอน”บรรณาธิการวิชาการ ผู้ร่วมก่อนก่อตั้งบุกเบิกนิตยสา...
Read More

จากใจทางอีศาน

ยิ้มรับปีใหม่

ยิ้มจากความไร้เดียงสา ยิ้มโดยธรรมชาติ ยิ้มจากพลังบวก แม้เพียงปรากฏที่มุมปาก ที่ดวงตา ยิ่งยิ้มทั้งใบหน้า ย่อมทำให้ผู้รับสารและแม้กระทั่งโลกทั้งใบสดชื่นแจ่มใสมีชีวิตชีวาทันที

ทศวรรษสากลของภาษาพื้นเมือง

วันที่ ๙ สิงหาคมของทุกปี สหประชาชาติกำหนดให้เป็นวัน “ชนพื้นเมืองดั้งเดิมของโลก” ปัจจุบันชนเผ่าพื้นเมืองมีสัดส่วนร้อยละ ๖.๒ ของประชากรโลก มีภาษาพูดกว่า ๔,๐๐๐ ภาษา (ทั้งโลกมีภาษากว่า ๗,๐๐๐ ภาษา) ซึ่งภาษาจำนวนมากนี้กำลังเสี่ยงต่อการสูญหาย ดังนั้นจึงเกิดโครงการ “ทศวรรษสากลของภาษาพื้นเมือง (พ.ศ.๒๕๖๕ - ๒๕๗๕)” ขึ้น โดย ยูเนสโก (UNESCO) - องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ เป็นผู้รับผิดชอบ

ปิดเล่ม ทางอีศาน 127

สรุปน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก น้ำล้นตลิ่งและท่วมขัง ระหว่างวันที่ ๒๘ กันยายน - ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๕ เกิดขึ้นในพื้นที่ ๕๙ จังหวัด ๓๒๘ อำเภอ ๑,๕๘๖ ตำบล ๙,๗๗๘ หมู่บ้าน ประชาชนได้รับผลกระทบ ๔๔๓,๕๑๐ ครัวเรือน [ข้อมูลจากข่าว ๓ มิติ]

ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์

พระธาตุศรีสองรัก สร้อยสัมพันธ์ไทย-ลาว

ไทยกับลาวหากสืบสาวรากเหง้าจะพบว่า เรามีสร้อยสัมพันธ์เกาะเกี่ยวกันหลายประการ...
Read More

นางแตงอ่อน

นางในวรรณคดีเป็นคำจำกัดความของตัวละครฝ่ายหญิงที่เป็นตัวเอก นั้นก็หมายถึงเหล่านางเอกผู้ที่มีสิริโฉมงดงาม เป็นปมเรื่องเป็นตัวดำเนินเรื่องในแนวนิยายนิทานของทุกชนชาติ และในวรรณคดีทางภูมิภาค ที่ราบสูงทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็ยังคงปรากฏความงาม ความอ่อนโยนของนางเหล่านั้นไม่แพ้วรรณคดีของภาคอื่น

มนต์เพลงอีศาน

อีสานบ้านเฮา

ฟ้าผ่าคนขวง

ชีวิตของผู้คนที่อาศัยอยู่ “ทางอีศาน” ส่วนใหญ่มีอาชีพทํานา ทําสวน ทําไร่ ทุกเช้าต้องรีบออกไปทํางาน หนักเอาเบาสู้ตามประสาคนพื้นถิ่นที่ไม่ได้เรียนต่อชั้นสูง ถึงเวลากินข้าวก็มีลูกหลานนําสํารับกับข้าวไปส่ง แล้วร่วมวงกินกันแบบพอเพียง มีข้าวเหนียวเป็นพื้น ปลาแดกบอง ป่น แจ่ว กินกับผักพื้นบ้านตามท้องไร่ท้องนา ก็นับว่าเลิศรสวิเศษแล้ว

หน่อไม้-ต้นไผ่ เรื่องไหนรู้จริง

แทบไม่มีคนไทยคนไหนไม่รู้จักต้นไผ่ เราล้วนเคยเห็นป่าไผ่ กระท่อมไม้ไผ่ ตะกร้าสาน ขลุ่ยไม้ไผ่ ตะเกียบไม้ไผ่ ซุปหน่อไม้ ฯลฯ จนคุ้นเคยแบบหลับตาก็นึกภาพได้ แต่เอาเข้าจริง สิ่งที่เราคิดว่ารู้เกี่ยวกับต้นไม้พื้นบ้านชนิดนี้นั้น จริงเท็จแค่ไหน หวังว่าเรื่องราวต่อไปนี้ คงช่วยตอบคำถามที่หลายคนไม่เคยคิดจะถามได้บ้าง

เขากินอะไรเป็นข้าวกัน

ในแต่ละมื้ออาหารปกติของคนทั่วโลก ต้องมีของกินที่เป็นหลักอยู่อย่างหนึ่ง สำหรับคนไทยแล้วของกินที่ว่านั้นคือ ข้าว แล้วคนชาติอื่นกินอะไร บางคนบอกฝรั่งกินขนมปัง แต่เอ คนแอฟริกากินอะไรเล่า ในยุคสมัยที่ร้านอาหารไม่ถูกจำกัดด้วยความเชื่อ

สถิติ

พ่อเฒ่าเสือเป็นคนเจ้าชู้เห็นสาว ๆ หรือแม่ฮ้างนางหม้ายมาอยู่ใกล้ ๆ มักจะมีเรื่องหยอก เรื่องแซว หรือหยิกแกมหยอกเขาอยู่เสมอ จนชาวบ้านให้ฉายาไปต่าง ๆ นานา บ้างก็ว่า “เฒ่าหัวงู” บ้างก็ว่า “เฒ่าบ่อยู่สมเฒ่า” หรือว่า “เฒ่าไก่แจ้” ก็เคยมี

อีสานแซบ

ภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่การทำอาหารพื้นบ้านโบราณ “เข่าแพะ”

“ข้าวแผะ” หรือตามภาษาถิ่นของคนโคราช ออกเสียงว่า “เข่าแพะ” เป็นอาหารพื้นบ้านโบราณที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ อาหารจานนี้ให้คุณประโยชน์ต่อร่างกายอย่างมหาศาล ทั้งยังให้สารอาหารที่ครบถ้วนจัดเป็นอาหารหลัก ๕ หมู่

วรรณกรรม

นวนิยาย: กาบแก้วบัวบาน (๔)

หลังจากเหมราชพลัดหลงมาอยู่ศรีโคตรบูรณ์ ได้เป็นสหายกับเจ้าเชียงรุ้งลูกชายเจ้าเมือง ตกลงรับรักกับเจ้าฟ้าคำหยาด เจอแต่เรื่องราวอันลึกลับงงงวย เหมราชเริ่มเป็นห่วงเรื่องทางบ้าน ธุรกิจ ญาติพี่น้อง เริ่มหาตู้โทรศัพท์เพื่อติดต่อกลับทางบ้าน แต่ไม่พบเจอแต่สิ่งไม่คาดคิดมากมาย พร้อมความในใจของสหายคนใหม่ เจ้าเชียงรุ้ง เหมราชจะรับมืออย่างไรดี

ลายแถนฟ้า (ตอนที่ ๑๙)

ชาวปรางค์กู่รวมตัวกันมาประชุมที่ศาลากลางหมู่บ้าน กำนันทองหลางแม้จะเป็นประธานแต่ก็นั่งเงียบ พ่อเฒ่าคำผุยทั้งที่เป็นหมอจ้ำของหมู่บ้านก็เงียบอีกคน

จดหมายจากนักอ่าน

นิตยสารทางอีศาน

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com