Category

บทความ

บทเรียนชีวิต (๕)

หลังจากที่ปู่จากไป พิธีฌาปนกิจทางศาสนาเสร็จสิ้น ยังมีการสวดภาวนาที่บ้านตอนค่ำอีกสามวัน แต่ก็มีเพียงญาติพี่น้องลูกหลานและคนที่สนิทกันเท่านั้น

#ชะตากรรมกับเจตจำนงเสรี ฉบับที่ ๔

ปู่กลัวย่าไหม คงไม่มั้ง แต่ก็เกรงและรักย่าแน่ ตอนที่ย่าป่วยไปโรงพยาบาลที่สกลนคร ทุกครั้งปู่จะไปเยี่ยม ตอนเช้าจะให้จ๊อบ ลูกนายโก้ ซึ่งเป็นลูกลุงโกก ลูกชายคนโตของปู่ย่า จ๊อบเป็นเหลนคนโปรด ทวดจะให้ไปส่งข้าวต้มให้ย่าทุกเช้า ให้เงินค่ารถโดยสาร ไปถึงสกลนครก็นั่งรถเมล์ไปโรงพยาบาล ทวดจะให้รางวัลเหลนทุกครั้ง

#ชะตากรรมกับเจตจำนงเสรี ฉบับที่ ๓

ทุกวันปีใหม่ ลูกหลานเหลนจะพากันไปกราบขอพรปู่กับย่า ตอนนั้นท่านมีลูก 14 คน หลาน 39 เหลน 40 กว่า ท่านเป็นพี่คนโต มีน้องชายน้องสาวอีก 6 คน บรรดาหลาน ๆ ญาติพี่น้องของปู่และย่ามากันหมด เต็มบ้าน

#ชะตากรรมกับเจตจำนงเสรี ฉบับที่ ๒

ปู่เดินทางมาจากเวียดนามตอนกลาง จากหมู่บ้านไตรเล ตำบลกันล็อค จังหวัดฮาติ่น ไม่ไกลจากวินห์ บ้านเกิดของโฮ จี มินท์ ท่านเล่าว่า มาตอนอายุ 8 ขวบกับแม่และน้อง ๆ เดินเท้ามาระยะทาง 200 กิโลเมตร ใช้เวลากว่าสามสัปดาห์ ถึงท่าแขก แล้วข้ามมานครพนม ที่ทวด (พ่อของปู่) รออยู่กับญาติพี่น้องคนอื่นที่ล่วงหน้ามาก่อน

#บันทึกชะตากรรมกับเจตจำนงเสรี #บทเรียนชีวิต (๑)

ภาพที่จำติดตาได้มากที่สุดภาพหนึ่ง คือ พ่อของพ่อนั่งที่ม้าหน้าบ้าน มองไปข้างหน้าแบบไม่มีจุดหมาย ใจกำลังครุ่นคิด ประสาเด็กไม่ได้เข้าใจอะไรมาก ดูหน้าของพ่อแล้ว ท่านคงไม่ได้กำลังมีความสุขกับการฝันถึงอะไรบางอย่าง หากแต่กำลังเป็นทุกข์

#สิ่งมหัศจรรย์ที่เรียกว่าชีวิต

วันนี้ได้รับโทรศัพท์จากลูกที่เยอรมัน เขาเกิดวันที่ 11 เดือน 11 เวลา 9.11 น. เขาโทร.มาในวันเกิดของตัวเองเพื่อขอบคุณที่ทำให้เขาเกิดมา เลี้ยงดูและส่งเสริมสนับสนุนจนเขาเติบโตและพึ่งพาตนเองได้ มีอาชีพมั่นคง มีความสุขในชีวิตและการทำงาน เขาขอพรจากพ่อ

ศุขปรีดา พนมยงค์ กับงานเขียนถึงผู้นำประเทศเพื่อนบ้าน

'ศุขปรีดา พนมยงค์' กับผลงานเขียนอันทรงคุณค่าที่บอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์ประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ “โฮจิมินห์ เทพเจ้าที่ยังมีลมหายใจ” "หวอเหงียนย้าปจอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์" และ “รำลึก 100 ปี เจ้าชายแดง เรียนรู้ประวัติศาสตร์ลาวผ่านชีวิตเจ้าสุพานุวง” ผลงาน 3 เล่มที่ผู้เขียนได้ทุ่มเททั้งแรงใจและแรงกาย ค้นคว้าหาข้อมูล อีกทั้งยังเดินทางไปสัมภาษณ์เรื่องราวเหล่านั้นด้วยตัวท่านเอง

อาจารย์เสรี พงศ์พิศ มาพบผู้อ่านที่บูธ “ชนนิยม ~ แม่คำผาง ~ ทางอีศาน” E32

อาจารย์เสรี พงศ์พิศ มาพบผู้อ่านที่บูธ “ชนนิยม ~ แม่คำผาง ~ ทางอีศาน” E32 พร้อมมอบลายเซ็นด้วยไมตรีและเป็นที่รำลึก

บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๓)

ปัจจุบัน ‘กวีนิพนธ์ชาติพันธ์ุวรรณนา’ ได้รับความสนใจมากขึ้นในฐานะเป็น ‘ศาสตร์’ ที่ได้รับอิทธิพลจากทั้งวิชาคติชนวิทยา มานุษยวิทยา และวัฒนธรรมศึกษา ตามแนวคิดหลังสมัยใหม่

บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๒)

อีกหนึ่งตัวอย่าง ที่ดูง่าย ๆ แต่ก็ลึกซึ้ง คือบทกวีที่มีชื่อว่า “เล่นนอก” เป็นบทกวีที่ผู้เขียนชื่นชอบมากเป็นพิเศษอีกบทหนึ่ง

บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๑)

ผู้เขียน อ่าน “ทาง” ผลงานรวมบทกวีของ “ปรีดา ข้าวบ่อ” จบเล่มรวดเดียวเมื่อราวสามสี่ปีก่อน เพื่อใช้พูดสดในงานประชุมเสวนาทางวรรณกรรมครั้งหนึ่งของนิตยสารทางอีศาน ที่ไร่จิมทอมป์สัน ซึ่งคุณปรีดา ข้าวบ่อ บรรณาธิการทางอีศาน ได้ใช้โอกาสนั้นเปิดตัวหนังสือรวมผลงานกวีของตนเอง ชื่อว่า “ทาง”

“ข้ามภพ ข้ามชาติ ข้ามศาสตร์ ข้ามตัวบท” : เต้าตามทางอาจารย์ชลธิรา เรียนรู้วิธีวิทยาการศึกษาใน มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง (3) – ธัญญา สังขพันธานนท์

งานสืบค้นความเป็นมาของชุมชนคนไท/ไต ไม่เพียงแต่นำเสนอให้เห็นวิธีการศึกษาแบบสหวิทยาการและบูรณาการของหลักคิดและองค์ความรู้แบบข้ามศาสตร์ข้ามสาย แต่ยังแสดงให้เห็นถึงการใช้เครื่องมือ (tool) และวิธีวิทยาสำคัญ ๆ ของศาสตร์ที่เกี่ยวข้องซึ่งถูกคัดเลือกและระดมมาใช้ศึกษา วิเคราะห์ ตีความตัวบทประเภทต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายชัดเจนในการตอบคำถามและสร้างมุมมอง/องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับรกราก ความเป็นมาของชนชาติไท

“ข้ามภพ ข้ามชาติ ข้ามศาสตร์ ข้ามตัวบท” : เต้าตามทางอาจารย์ชลธิรา เรียนรู้วิธีวิทยาการศึกษาใน มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง (2) – ธัญญา สังขพันธานนท์

คำว่าตัวบท (text) ที่จะกล่าวถึงในตอนนี้ มีความหมายอ้างถึงอยู่สองระดับ ระดับแรก ไม่มีอะไรยุ่งยากซับซ้อน เพราะหมายถึงแหล่งข้อมูลที่อาจารย์ชลใช้ในการศึกษา วิเคราะห์เพื่อค้นหาความหมาย การเชื่อมโยงข้อมูล หลักฐาน การถอดรหัสนัยจากข้อมูลนั้น ๆ เพื่อหาคำตอบตามสมมุติฐานที่วางไว้

“ข้ามภพ ข้ามชาติ ข้ามศาสตร์ ข้ามตัวบท” : เต้าตามทางอาจารย์ชลธิรา เรียนรู้วิธีวิทยาการศึกษาใน มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง – ธัญญา สังขพันธานนท์

หลังจากงานศึกษาค้นคว้า เพื่อสืบสาวความเป็นมาของชนชาติไท /ไต ในงานเขียนทางวิชาการเล่มหนา ที่ชื่อว่า “มหากาพย์ฯ บรรพหนึ่ง: ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท” เมื่อปี พ.ศ.๒๕๖๑ แล้ว ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนา หรือ “อาจารย์ชล” ก็ได้เริ่มต้นสืบค้นศึกษาเพื่อสืบสาวความเป็นมาของชนชาติไทในบรรพที่สองโดยไม่รอช้า ชั่วระยะเวลาแค่สามสี่ปี ในขณะที่เราต่างถูกกักขังยาวนานอยู่ใน “คุกโควิด-19” อาจารย์ชลก็ผลิตงานเขียนชุดต่อเนื่องออกมาสู่วงวิชาการอีกครั้งหนึ่ง ในชื่อ “มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง: เต้าตามไต เต้าทางไท” ที่มีความเข้มข้นและอลังการไม่แพ้งานสืบสาวความเป็นมาของชนชาติไท บรรพหนึ่ง

Dam~Tao Dialogue 1 บทวิจารณ์มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง “เต้าตามไต เต้าทางไท”

​ปัญหาอย่างหนึ่งของงานโบราณคดีโดยทั่วไปคือ การอธิบายความหมายและนัยยะของโบราณวัตถุให้เกินระดับพื้นผิวของวัตถุ โดยมากทำได้แค่เพียงอธิบายว่าโบราณวัตถุแบบเดียวกันนี้พบที่ไหนบ้าง ซึ่งเป็นผลมาจากพื้นฐานของงานโบราณคดี (และประวัติศาสตร์ศิลปะ) นั้นตั้งอยู่บนการศึกษาเชิงรูปแบบ (Form/Formalism) เป็นหลัก อาจมีบ้างที่พยายามจะถอดสัญญะความหมายแต่ก็เป็นไปอย่างตรงไปตรงมา
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com