Category

บทความ

Tao Dialogue 6 ต่อเต้าความ เรื่องสัญรูป|สัญอักษร “เต้าตี”

การสลักลวดลายสัญญะบนศิลปะวัตถุสำริด (Bronze vessels) สมัยปลายราชวงศ์ซาง ต่อเนื่องด้วยระยะต้นและระยะกลางของราชวงศ์โจวตะวันตก จัดว่าเป็น ‘ทวิสัญญะ’ ที่ทับซ้อนกัน คือมีทั้งส่วนที่เป็น ‘สัญรูป’ และ ‘สัญอักษร’ หรือนัยหนึ่งคือ ‘อักขระโบราณ’ แต่ดึกด้ำปางบรรพ์ ซึ่งจนทุกวันนี้ก็ยังไม่มีใครอ่านออกและให้ความหมายได้ชัดเจน

Tao Dialogue 5 บทสนทนาว่าด้วยเรื่อง ‘เต้า’ บทบาททางพิธีกรรม

‘เต้า’ ในฐานะภาชนะ บรรจุของเหลว เช่น น้ำ หรือเหล้า ฝรั่งคงนึกไม่ออกว่า ‘น้ำ’ มีความพิเศษเฉพาะอย่างไรในพิธีกรรม เมื่อมีการขุดพบศิลปะวัตถุโบราณ ที่บรรจุของเหลวได้ มักนิยามสิ่งนั้นว่า เป็น ‘wine container’

Tao Dialogue 4 บทสนทนาว่าด้วยคำ ‘เต้า’ จาก ‘เต้า’ จุดกำเนิด สู่ ‘เก๊ง~เคียง~เชียง’ ที่ตั้งมั่น

Tao Dialogue 4 บทสนทนาว่าด้วยคำ ‘เต้า’ จาก ‘เต้า’ จุดกำเนิด สู่ ‘เก๊ง~เคียง~เชียง’ ที่ตั้งมั่น โดย ชายชื้น คำแดงยอดไตย

Tao Dialogue 3 บทวิจารณ์ มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง

เมื่อศาสตราจารย์พิเศษชลธิรา สัตยาวัฒนา (อาจารย์ชล) เชื้อชวนผมให้เขียนถึงคำว่า ‘เต้า’ ใน ‘เต้า’ ตาม ไต ‘เต้า’ ทางไท อันเป็นบรรพสองของ “มหากาพย์ชนชาติไท” ทางหนึ่งจึงนับเป็นเกียรติยิ่งอีกครั้ง จากคราวก่อนที่ได้รับความเมตตาให้โอกาสเขียนถึงคำว่า ‘ด้ำ’ ผีบรรพชนผู้เฝ้าปกปักรักษาสายโคตรตระกูล ในมหากาพย์ฯ บรรพแรก: ‘ด้ำ’ แถน กำเนิดรัฐไท (ชลธิรา พ.ศ.๒๕๖๑)

Dam Dialogue 2 บทต่อเต้าความ “มหากาพย์ชนชาติไท”

ในงานเขียนเรื่อง ‘สาวรกรากต้นตอ คนไท ชุมชนไท-ลาว และความเป็นไท/ไต/ไทย/สยาม’ อันเป็นบรรพแรกของ “มหากาพย์ชนชาติไท” ศาสตราจารย์พิเศษชลธิรา สัตยาวัฒนา (อาจารย์ชล) ได้สืบสาวความหมายของ ‘ด้ำ’ ที่เชื่อมโยงถึงความเชื่อเก่าแก่หลากหลายนัยยะ เน้นย้ำถึงความสำคัญของคำว่า ‘ด้ำ’ อย่างเป็นพิเศษชนิด ‘ยวดยิ่ง’ ว่าคือ คำต้นเค้าต้นแบบอันเก่าแก่ดึกดำบรรพ์ที่มีอิทธิพลอย่างลึกล้ำต่อการ ‘แรก’ สร้างชุมชนสร้างเมืองของพวกไท-กะได โดยเฉพาะสายไท-ลาว-สยาม

TAO Dialogue 1 เวทีสังสันทน์ ว่าด้วยเรื่อง “เต้า”

มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง “เต้าตามไต เต้าทางไท” กำลังใกล้จะสำเร็จเป็นรูปเล่มเพื่อให้บริการทางวิชาการแก่สาธารณชน โดยผู้เขียนทั้งสองถือเป็น ‘วิทยาทาน’ แก่สังคม

TAO Dialogue 2 “เต้า” สนทนา จากประสบการณ์อ่านวรรณคดี บนฐานคิด ‘มานุษยวิทยาสัญนิยม’

บนฐานคิดที่ว่า ‘ภาษา’ มีชีวพันธุกรรมต้นกำเนิด มีการแตกตัว เคลื่อนไหว เดินทาง กระจายตัว แม้ถูกกลืนกลาย ก็ยังสาวหารากร่วมได้ โดยการใช้ ‘กุญแจคำ’ ไขรหัสสิ่งที่เป็น ‘วัฒนธรรมร่วมเชื้อสาย’

# หนังสือที่คิดว่าสาบสูญแล้ว “จงเป็นอาทิตย์เมื่ออุทัย”

"จงเป็นอาทิตย์เมื่ออุทัย" หนังสือเพื่อต้อนรับเพื่อนใหม่พร้อมกัน 10 สถาบัน พิมพ์เมื่อ พ.ศ.2519 พิมพ์เผยแพร่เสร็จไม่นานรัฐบาลเผด็จการสมัยนั้นได้ทำการล้อมปราบใหญ่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แล้วบุกเข้าเข่นฆ่านักศึกษาอย่างหฤโหด

การแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำที่อำเภอโนนสุวรรณ จังหวัดบุรีรัมย์

หมู่บ้านในตำบลโนนสุวรรณ ได้เสนอไปยังกรมทรัพยากรน้ำบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีความจำเป็นที่ชาวบ้านขาดแคนน้ำเพื่อใช้อุปโภคบริโภค และการเกษตร ที่สำคัญคือ โรงพยาบาลอำเภอโนนสุวรรณไม่มีแหล่งน้ำใช้เพียงพอ

คำกล่าวสำหรับเปิดตัวหนังสือ “ดอกไม้บานที่อิตาลี” โดย ฯพณฯ ลอเรนโซ กาลันติ เอกอัครราชทูตอิตาลีประจำประเทศไทย กัมพูชาและลาว

ผมรู้สึกยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้มาที่นี่ ในโอกาสเปิดตัวหนังสือในวันนี้ ต้องขอขอบคุณ ดร.เสรี พงศ์พิศ ผู้เขียนนวนิยายเรื่อง "dok-mai-ban-tee-i-ta-lee (ดอกไม้บานที่อิตาลี)"

ครม. เห็นชอบเสนอ “อุทยานธรณีขอนแก่น” เป็นอุทยานธรณีโลก จ่อยื่นยูเนสโก

รัฐบาลเห็นชอบเสนอ “อุทยานธรณีขอนแก่น” เป็นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก ชู เป็นแหล่งค้นพบซากไดโนเสาร์ 5 สายพันธุ์ใหม่ของโลก หวังเป็นที่รู้จักของนานาประเทศ ดึงดูดนักท่องเที่ยวสร้างรายได้

จดหมายถึงนายกรัฐมนตรี ความเห็นของภาคประชาสังคมต่อกรณีเขื่อนสานะคาม

จดหมายถึงนายกรัฐมนตรี ความเห็นของภาคประชาสังคมต่อกรณีเขื่อนสานะคาม เรื่อง การวิเคราะห์ผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ในโครงการไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนสะนะคาม

ปลดล็อคสุราไทย

เชื่อไหมว่า เหล้าสาเกของญี่ปุ่นมาจากสาโทของไทย อะวาโมริของญี่ปุ่นมาจากเหล้าขาวของไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากภูมิปัญญาที่บรรพบุรุษไทยได้สั่งสมมานับพันปี ไม่เชื่อให้ไปถามอาจารย์พิเชษฐ เวชวิฐาน คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร

มะกอก ในความคิดคำนึง

มะกอก ใคร ๆ ก็รู้ว่าเป็นชื่อต้นไม้ แต่ในหลายครั้งของการพูดคุยเรื่องมะกอก กลับพบว่า พูดกันคนละเรื่อง เพราะมะกอกของคุณกับมะกอกของผม อาจไม่ใช่มะกอกต้นเดียวกัน เพียงแค่ในสำนวน “มะกอกสามตะกร้า ปาไม่ถูก” ที่ได้ฟังติดหู ขึ้นใจ เป็นมะกอกชนิดไหน เพียงแค่นี้ ก็มีเรื่องให้ถกเถียงกันได้แล้ว
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com