ยุคฟื้นฟูศิลปะวัฒนธรรมRenaissance (3/3)
มาร์ติน ลูเธอร์ เป็นพระในคณะเอากุสตีเนียน เป็นอาจารย์สอนเทวศาสตร์ในมหาวิทยาลัยในเยอรมัน เป็นผู้นำสำคัญที่ให้กำเนิดนิกายโปรเตสแตนท์ โดยเรียกร้องให้มีการปฏิรูปศาสนา ในปี 1517 นำข้อประท้วง 95 ข้อไปติดที่ประตูโบสถ์เมืองวิตเทนเบอร์ก ประณามความฉ้อฉล ศาสนพาณิชย์ ขายบุญเพื่อให้ได้เงินสร้างโบสถ์วิหาร โดยเฉพาะเซนต์ปิเตอร์ที่กรุงโรม การทำบุญด้วยเงินเพื่อเป็นการไถ่บาป ทำให้มีสิทธิ์ได้ไปสวรรค์
ยุคฟื้นฟูศิลปะวัฒนธรรมRenaissance (2/3)
ยุคกลาง ยุคมืดตอนต้น หลังจากโรมล่มสลาย ไม่เป็นเมืองหลวงของโลกอีก (caput mundi) ความรู้เก่าหายไป วิศวกรรม สถาปัตย์ คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ ไม่มีการก่อสร้างอะไรเหมือนยุคโรมันอีก หอสมุดคอนสแตนติโนเปิลได้รวบรวมวิชาความรู้ไว้มากมาย ทั้งของตะวันออก-ตะวันตก เป็นขุมทรัพย์ทางปัญญาที่สำคัญ
ยุคเกิดใหม่เพื่อฟื้นฟูศิลปะวัฒนธรรม Renaissance (1/3)
ยุคฟื้นฟูศิลปะวัฒนธรรม (Renaissance) เป็น “ยุคเกิดใหม่” ของอารยธรรมที่เคยรุ่งเรืองสองพันปีก่อนในยุคกรีกและโรมัน ยุคที่ผู้คนกลับไปเรียนรู้ ฟื้นฟูความรู้ภูมิปัญญา ก่อให้เเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมายในระยะเวลาไม่นานในแทบทุกด้าน
มากกว่ากาละแม คือทับหลังงามแท้ที่ศีขรภูมิ
ไม่น่าเชื่อขนมห่อเล็ก ๆ ฝีมือชาวบ้าน ในบรรจุภัณฑ์ (Packaging) แบบบ้าน ๆ นั่นคือ “กาละแม” จะทำให้ผมและใครต่อใครหลายคนติดอกติดใจจนต้องแวะเวียนไปอำเภอเล็ก ๆ แห่งหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ เพื่อหาซื้อ “กาละแม แม่สองบาล” มาชิมจนอิ่มเอิบในหัวใจ
ชาวนุง ในเวียดนาม The Nung people in Vietnam
ชาว “นุง” ตำราภาษาไทยมักจะเรียกว่า “ไทนุง” แต่อาจารย์ทองแถมบอกว่า เคยคุยแลกเปลี่ยนกับนักวิชาการชาวนุงหลายท่าน พบว่า พวกเขาเรียกตัวเองว่า “นุง” หรือ “คนนุง” มิได้เรียกคัวเองว่า “ไท”
เงินตราโบราณ ในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๙)
ฉบับนี้จะพามาทําความรู้จักกับเงินตราอีกชนิดหนึ่งที่มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “เงินพดด้วง” ซึ่งมีลักษณะเป็นก้อนเงินกลม มีขา ๒ ข้าง เป็นเงินที่คนไทยสยามผลิตใช้กันมาต่อเนื่องยาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัยอยุธยา จนกระทั่งสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ปริศนาพระแก้วมรกต จากปาฏลีบุตรถึงนครอินทปัตถ์
พระแก้วมรกต หรือ "พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร" เปรียบได้ดั่งมหากาพย์แห่งสุวรรณภูมิ ปรากฏรายละเอียดอยู่ใน "ตำนานรัตนพิมพวงศ์" ซึ่งรจนาโดยพระพรหมราชปัญญา พระภิกษุชาวล้านนา มีชีวิตอยู่ในช่วงระหว่างรัชกาลของพระเจ้าติโลกราชถึงพระเมืองแก้ว หรือช่วงพุทธศตวรรษที่ 20-21ถือเป็นยุคทองของวรรณกรรมล้านนาที่เกิดความนิยมในการรจนาด้วยบาลีปกรณ์
ฮูปแต้มวัดขอนแก่นเหนือ
จิตรกรรมฝาผนังในภาคอีสาน เรียกว่า “ฮูปแต้ม” มักวาด (แต้ม) ไว้ในโบสถ์ ชาวอีสานเรียกโบสถ์ว่า “สิม” คําว่าสิมมาจากคําว่า สีมาหรือเสมา สิมมีหลายแบบแต่ที่หลงเหลือให้เห็นในอีสานส่วนใหญ่ เป็นสิมที่ก่อด้วยอิฐดิบหรืออิฐเผาฉาบปูนมีสิมโถงหรือสิมโปร่ง (อายุประมาณ ๒๐๐ - ๒๕๐ ปี) และสิมก่อผนังหรือสิมทึบ (อายุ ประมาณ ๑๐๐ - ๒๐๐ ปี)
ข้าว เงือก นกส่งวิญญาณ อีกหนึ่งความเชื่อแก่นคติชนไท ก่อนรับอิทธิพลพุทธ-พราหมณ์
สำหรับความเชื่อในการ “เคารพบูชานก” พบหลักฐานโบราณคดีและนิทานตำนานของชน พื้นเมืองดึกดำบรรพ์ตั้งแต่ทางใต้แม่น้ำแยงซีเกียงลงมาจนถึงสุวรรณภูมิ (อาเซียน) โดยมี ความเชื่อว่า “นก” คือผู้นำเมล็ดข้าวมาให้มนุษย์ แหล่งโบราณคดีเหอหมู่ตู้ มณฑลเจ้อเจียง อารยธรรมโบราณกว่า ๗,๐๐๐ ปีก่อน
“แคนโหล” แคนซิ่งอีสาน
“ไผว่าเมืองอีสานฮ้าง อยากจูงแขนท่านไปเบิ่ง เสียงพิณยังกล่อมแดน เสียงแคนยังกล่อมบ้าน สิเพฮ้างบ่อนจั่งได๋” ผญาบทนี้เป็นผญาที่บอกกล่าวถึงความไม่ร้างไร้ของแผ่นดินอีสาน โดยบรรยายถึงเรื่องราวของเสียงดนตรีที่มีอยู่คู่กับผืนแผ่นดินถิ่นอีสาน เสียงแคนเสียงพิณได้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งความมั่งคั่งทางวัฒนธรรมของแผ่นดินอีสานที่คนทั้งหลายไม่อาจปฏิเสธได้
ฮูปแต้มวัดโพธิ์ชัย
“รูปกาก” วัดนี้มีคุณค่ามาก เพราะเป็นภาพวิถีชีวิตชาวบ้าน แสดงถึงประเพณี พิธีกรรม และการแต่งกายของคนพื้นบ้าน เช่น ภาพกองทัพสยาม เป็นภาพทหารเดินเรียงแถว ถือหอก แต่งกายด้วยชุดมีสีสันสดใส ตัดผมสั้นแบบทหารราชสํานักสยาม ข้างแถวทหารเป็นภาพหญิงชาวบ้านแต่งกายแบบลาว คือเกล้ามวย ห่มผ้าเบี่ยงสีสันสดใส นุ่งผ้าซิ่นกรอมเท้าลายทางต่อหัวต่อตีน
อักษรในอีสาน…ต้นธารประวัติศาสตร์
เพ่งพินิจสรรพสาระอันว่าด้วย “ประวัติศาสตร์” คงมีประเด็นเห็นพ้องและเห็นต่างกันอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ทั้งนี้ด้วยเหตุที่การอธิบายเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ต้องอาศัยทั้งข้อมูลโบราณคดี ตำนาน พงศาวดาร เรื่องเล่า มาเป็นข้อมูลรองรับข้อสันนิษฐานของผู้รู้ในสำนักคิดต่าง ๆ
ชาดกเรื่องพระโสณะและพระนันทะเลี้ยงดูบิดามารดา
พระโพธิสัตว์ (อดีตชาติของพระพุทธเจ้า) เสวยพระชาติเป็น พระโสณะ บุตรคนโตของพราหมณ์สามีภรรยาคู่หนึ่ง มีน้องชายนามว่า พระนันทะ เมื่อเจริญวัยขึ้นบิดาและมารดาประสงค์ให้พระโสณะแต่งงานมีครอบครัว ทําหน้าที่ดูแลทรัพย์สมบัติสืบไป แต่พระองค์ปฏิเสธ
เงินตราโบราณ ในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๘)
เงินตราอีกชนิดหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างดีในหมู่คนเฒ่าคนแก่ของพี่น้องชาวอีสานและพี่น้องชาวลาว อาจมีชื่อเรียกต่าง ๆ นานาว่า เงินฮางบ้าง เงินเฮือบ้าง เงินลาดบ้าง ตามแต่ละท้องถิ่นจะเรียกขานกัน แต่เงินตราชนิดนี้มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า “เงินลาด” เป็นคำที่บรรพบุรุษคนลาวเรียกขานกันมาตั้งแต่ในอดีต
แหล่งตัดหินบ้านกรวด เปิดปมปริศนาเทวาลัย
ไปเยือนปราสาทหินคราใด คำถามเหล่านี้วนเวียนอยู่ในห้วงคำนึงของผมเสมอ ช่างแขมร์โบราณตัด ยก ขนย้ายก่อนศิลาทรายหนักเป็นตัน ๆ ได้อย่างไร ? ใช้อะไรขัดให้เรียบ กลึงให้กลม แกะให้งาม ที่สำคัญในการออกแบบก่อสร้างเทวาลัยขนาดใหญ่เช่นนี้ สถาปนิกผู้รังสรรค์ใช้วัสดุใดเป็น “พิมพ์เขียว” ในการร่างแบบ ?