# มหากาพย์ชนชาติไท “เต้าตามไต เต้าทางไท” เขียนโดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา, ชายชื้น คำแดงยอดไตย #
# ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนา นักวิชาการของประชาชนกับผลงานล่าสุดที่ตกผลึกทางความคิด ลุ่มลึก เธอจัดเจนอักษรศาสตร์หลากภาษา; มีประสบการณ์สนามที่แลกด้วยชีวิต ขึ้นเขาลงห้วยมาแล้วทั้งในแดนไทย ลัวะ...Read More
ครูช่างสมศักดิ์ มุตะโสภา ผู้อนุรักษ์ “ลายดอกรังฮอ” แห่งอีสานใต้
“หลังจากผมเรียนจบ ป.4 ก็มาทำงานช่วยพ่อที่เป็นช่างทองและเงิน พ่อให้เริ่มทำลายที่ยากที่สุดก่อน ผมฝึกงานช่างฝีมือจากพ่อที่ฝึกฝนทักษะมาจากปู่ และปู่ก็เป็นช่างทอง ได้รับการถ่ายทอดวิชามาจากทวดของผมอีกที ผมเ...Read More
คำนำสำนักพิมพ์ หนังสือ “มหากาพย์ชนชาติไท ~ เต้าตามไต เต้าทางไท” เล่ม ๑
ลึ ก ซึ้ ง ร า ก เ ห ง้ า [ลายกลอนนำร่อง ๑] เห็นไหมนั่นเถื่อนถ้ำโน้นเพิงผา กลางพนาโขลงช้างชุมทางเสือ ซากวัตถุโครงกระดูกผูกโลงเรือ สีแต้มเพื่...Read More
กำหนดการงาน ~ “สู่ขวัญสุวรรณภูมิ” เสวนาวิชาการ เล่าขานเรื่องราวสุวรรณภูมิ
กำหนดการงาน ~ “สู่ขวัญสุวรรณภูมิ”
เสวนาวิชาการ เล่าขานเรื่องราวสุวรรณภูมิ วันพฤหัสที่ 30 พฤศจิกายน 2566 เวลา 12.30 - 18.00 น. ณ ห้อง Auditorium ช้ัน 2 ตึก 15 วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต -
12.30 - 12.50 น. ลงทะเบียน
หนังสือ ๓ เล่มชุด “มหากาพย์ชนชาติไท : เต้าตามไต เต้าทางไท”
ชลธิรา สัตยาวัฒนา
ใช้ข้อมูลที่ร่ำเรียน สืบเสาะหา และวิจัยมาทั้งชีวิต ใช้เวลาตกผลึกทางความคิด สรุป และเรียบเรียงถึง ๖ ปี
แล้วออกแบบรูปเล่ม แนะนำการทำปก ควบคุมการผลิตทุกขั้นตอนอีกปีกว่า
บัดนี้ผ่านการพิมพ์ปกมาตรวจความเรียบร้อยสมบูรณ์แล้ว
# ร่วมบุญสร้างหนังสือ
บอกบุญสร้างหนังสือสื่อเพื่อนมิตร
มอบอุทิศแด่สังคมอุดมผล
บารมีจากปัญญาบันดาลดล
สร้างสรรค์สู่สากลสดุดี
มหากาพย์ชนชาติไท ~
"เต้าตามไต เต้าทางไท" ใฝ่วิถี
สืบสาวลึกรากเหง้าทบเท่าทวี
เสริมศักดิ์ศรีมนุษย์รุดหน้าไป
ชายเป็นใหญ่ : จาก “แถน” สู่ “เทพ”*
สำหรับกรณีของวิถีวิวัฒน์สังคมบรรพชนไท|ลาว|สยาม นั้น เป็นที่ประจักษ์จากหลักฐานประวัติศาสตร์ทางภูมิปัญญาว่า ในระยะต่อมา บทบาท อำนาจ และบารมีของผู้นำที่เป็น ‘บรรพบุรุษ’ ได้รับการหนุนเสริมขึ้นสู่ “ความเป็นแถน” (ฟ้า) ตามด้วย “ภาวะแห่งเทพ” (เทวราชา แบบพราหมณ์|ฮินดู) ในพื้นภูมิหลายแห่ง โดยเฉพาะอาณาจักรสมัยทวารวดี ลพบุรี อโยธยา ต่อเนื่องด้วยอยุธยา
“ด้ำเสือ”
“การศึกษาเรื่องราวความเป็นมาของชาวไต โดยเริ่มจากการวิเคราะห์บทเพลงขับขาน “ความล่องคง” ของชาวไทใหญ่ รวมถึงการคัดสรร คำกล่าว คำพังเพย คติพื้นบ้าน ตำนาน สายด้ำ โดยให้ความสำคัญกับสายตระกูล “เสือ” เป็นหลัก ใน มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง ว่าด้วยการ “เต้าตามไต|เต้าทางไท” เพื่อสะท้อนให้เห็นวิถีไทห้วงก่อนประวัติศาสตร์ และประวัติศาสตร์ยุคต้นของสังคมชนชาติไท
ใบลานวัดมณีวนาราม มรดกบรรพชนคนอุบล
วัดมณีวนารามชาวบ้านเรียก“วัดป่าน้อย” ตั้งอยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สร้างราวปลายสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระอริยวงศาจารย์ (สุ้ย) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก วัดแห่งนี้มีสำนักเรียนพร...Read More
แถลงการณ์จากผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองร้อยเอ็ด ฉบับที่ ๒
จากการที่มีหน่วยงานราชการบางแห่งทำการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เป็นจริงว่านามร้อยเอ็ดมาจากคำว่าสิบเอ็ดประตู ทั้งยังมีการใช้อำนาจทำการผลิตซ้ำข้อสันนิษฐานอันล้าหลังอย่างต่อเนื่อง ซึ่งนอกจากจะสร้างความเสียหายทา...Read More
อาจารย์มรภ.ร้อยเอ็ด จี้ อย่าล้มโต๊ะถกปมแก้คำขวัญด้วยวาทะ ‘เกิดไม่ทัน’ ด้อยค่าวิชาการ
ผ.ศ.ปริญ กล่าวว่า เรื่องสิบเอ็ดประตูมาจาก 11 ช่องทาง เป็นเรื่องเก่าที่ได้มีการศึกษาอธิบายมาตั้งแต่ก่อนเปลี่ยนคำขวัญแล้วว่าไม่เป็นจริง คือการศึกษาของพิเศษ เจียจันทร์พงษ์ ผู้เชี่ยวชาญของกรมศิลปากร มีการ...Read More
ปธ.สภาวัฒนธรรมร้อยเอ็ด แจงที่มาคำขวัญจังหวัด‘สิบเอ็ดประตูเมืองงามฯ’ อ้างอิงแผนที่เข้าเมืองโบราณ มี 11 ช่องทาง
ปธ.สภาวัฒนธรรมร้อยเอ็ด แจงที่มาคำขวัญจังหวัด ‘สิบเอ็ดประตูเมืองงามฯ’ อ้างอิงแผนที่เข้าเมืองโบราณ มี 11 ช่องทาง เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ดร.สาธิต กฤษลักษณ์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด เปิ...Read More
เสน่ห์อีสานบ้านสาวะถี (ตอน 2 ) รักษาวิถีเพื่อประเพณีอันดีงาม
เสน่ห์อีสานบ้านสาวะถีตอนแรกได้ผ่านสายตาท่านผู้อ่านไปแล้ว โดยได้บอกเล่าเรื่องราวความเป็นชุมชนโบราณผ่านการฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมของคนในชุมชน โดยมีบุคคลสำคัญคือพระครูบุญชยากร เจ้าอาวาสวัดไชยศรี ที่เป็นผู้มอง...Read More
เสน่ห์อีสานบ้านสาวะถี (ตอนที่ 1) ฟื้นฟูประเพณีวัฒนธรรมนำวิถีสุข
หลายคนคงเคยได้ยินชื่อ “หมู่บ้านสาวะถี” ตำบลสาวะถี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ที่อยู่ห่างจากตัวเมืองขอนแก่นประมาณ 20 กิโลเมตร แต่อาจจะยังไม่เคยมาเยือนหรือมาท่องเที่ยวที่นี่ สิ่งที่ได้ยิน ได้ฟัง อาจจะเป...Read More
เต่างอย : พื้นที่ทับซ้อนทางวัฒนธรรมความเชื่อที่ลงตัว
“ไม่มีพื้นที่ใดที่ไม่มีการทับซ้อนทางวัฒนธรรม” คำกล่าวนี้บ่งบอกสัจธรรมการทำงานศึกษาภาคสนามว่าหากจะถามถึงความเป็นเจ้าแรกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ใดพื้นท...Read More