รำลึกครบรอบ 68 ปี “ศึกเดียนเบียนฟู” ที่กองทัพเวียดนามมีชัยต่อกองทัพฝรั่งเศส
รำลึกครบรอบ 68 ปี "ศึกเดียนเบียนฟู" ที่กองทัพเวียดนามมีชัยต่อกองทัพฝรั่งเศส (7 พฤษภาคม พ.ศ.2497 - 7 พฤษภาคม พ.ศ.2565) สงครามยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษที่ 20 วันเริ่มต้นสิ้นสุดยุคอาณานิคมโลก
ชุมชนลุ่มน้ำโขงพร้อมใจบวงสรวงเทพยดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์เพื่อความอยู่เย็นเป็นสุข
คนส่วนใหญ่เข้าใจผิดคิดว่าเป็นพิธีกรรมของพราหม์ แท้จริงแล้ว"บวงสรวง" เป็นภาษาพราหมณ์สมัยพุทธกาลก็เป็นภาษาบาลี
ส่วนภาษาไทยแปลว่า ยอมรับนับถือท่านผู้มีพระคุณ คือ พระรัตนตรัย พรหม เทวา ผู้เป็นใหญ่ดูแลโลก ดูแลคุ้มครองผู้ที่มีบุญบารมีไม่ให้ได้รับอันตรายจากอุบัติเหตุ จากผู้ร้าย จากภัยธรรมชาติ เป็นพิธีการบูชาพระคุณความดีของท่านที่มีคุณงามความดีต่อสรรพสัตว์ทั้ง 3 โลก
ยกอ้อ ยอคาย ไหว้ครู บูชาคุณ
เมื่อกาลเวลาผ่านเข้ามาสู่เดือนมกราคม ซึ่งเป็นเดือนแรกของปีตามปฏิทินสุริยคติสากล ในเดือนมกราคมนี้มีวันสําคัญหลายวัน รวมถึง “วันครู” ที่กําหนดให้ตรงกับวันที่ ๑๖ มกราคม ของทุกปีทางอีศานฉบับนี้จะได้ชวนท่านผู้อ่าน “เปิดผ้าม่านกั้ง” เรื่องราวการบูชาพระคุณครูตามอริยะประเพณีอีสานโบราณ
ภาษาลาว ภาษาอีสาน
คนอีสาน หรือคนที่อาศัยอยู่ในภาคอีสานมีมากมายหลายเผ่าพันธุ์ มีกลุ่มที่อยู่ที่นี่นานเป็นพัน ๆ ปี มีที่อพยพมาจากที่อื่นหลายร้อยปี ที่ผ่านมาบางกลุ่มอาจจะไม่สามารถหรือไม่อยากบอกว่าตนเองเป็นคนอีสาน เพราะเชื้อชาติดั้งเดิมนั้นชัดเจน และอาจมาอยู่ไม่นานอย่างคนเชื้อสายจีน เชื้อสายเวียดนาม
กะเป๊ก : หน่อไม้จากต้นข้าว
“กะเป๊ก” คืออะไร ถามคนส่วนใหญ่ไม่น่ามีใครรู้บางคนยังถามกลับว่า เป็นตัวอะไรหรือแต่ถ้าถามว่าแล้ว “หน่อไม้น้ำ” เล่าซึ่งเป็นอีกชื่อเรียกหนึ่งของกะเป๊ก บางคนบอกเคยได้ยินชื่อ และในบางคนนั้น อาจมีเพียงคนหรือสองคนที่รู้จัก และเคยกิน
ภาษาไม่ใช่แค่เครื่องมือสื่อสาร
ผมมีเพื่อนเป็นชาวออสเตรเลีย เคยเป็นผู้บริหารระดับสูงในองค์การสหประชาชาติเขาบอกว่า ในบรรดาภาษาทั้งหลายเขาชอบภาษาไทยมากที่สุด เขาพูดไม่ได้และฟังไม่รู้เรื่อง แต่เขาชอบสุ้มเสียงสำเนียงและท่วงทำนองของภาษาไทยเป็นอย่างยิ่ง เป็นภาษาที่ไพเราะที่สุด ได้ยินเมื่อไรก็ยิ้มได้เหมือนได้ฟังดนตรีที่ชื่นชอบประมาณนั้น
สรุปย่อรากเหง้าร่วมของวัฒนธรรมอาเซียน
“ลักษณะไทย” “ความเป็นไทย” “อัตลักษณ์ไทย”? หัวข้อนี้เป็นปัญหาใหญ่สำหรับคนที่ทำงานด้านศิลปวัฒนธรรมไทย วงวิชาการไทยทํางานด้านนี้มามาก แต่บางช่วงก็ “หลง” ไปทาง “ไทยนิยม” มากไป
วัดหลวงปากเซ การประสมประเสที่น่าทึ่ง
“ปากเซ” เป็นเมืองเอก หรือเมืองศูนย์กลางของแขวงจําปาสัก และยังถือเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ การค้า การคมนาคม ของ สปป.ลาว ในเขตภาคใต้อีกทั้งยังเป็นศูนย์การศึกษาพระพุทธศาสนาที่ใหญ่ที่สุดของลาวอีกด้วย
อู่อารยธรรมอีสาน “อุบลราชธานี” เมืองนักปราชญ์
อุบลราชธานี มีสมญานาม “เมืองนักปราชญ์” (Ubon Ratchathani – Mueang Nakbpraat) มาแต่ครั้งบรรพกาล นามนี้เป็นที่กล่าวขานในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ (พ.ศ.๒๔๕๓ – ๒๔๖๘) และมีเพียงเมืองอุบลราชธานี เมืองเดียวเท่านั้นในประเทศไทยที่ได้รับสมญานามนี้ซึ่งจะเห็นว่าเดิมมีการกล่าวว่า “คนอุบลฯ เป็นปราชญ์” ชี้เฉพาะระดับบุคคลเท่านั้น
อีสานในนิมิต
คนทั่วไปมองว่าอีสานมีอนาคตที่สดใส จะดีขนาดไหน จะโชติช่วงชัชวาลหรือไม่ เพียงใด ขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง แต่ถ้าพิจารณาศักยภาพแล้วก็เชื่อว่ามีทางที่จะเจริญพัฒนาแบบ “มีแต่สิดีไปเมือหน้า”
มหัศจรรย์สี่พันดอน
เกาะเต่า ในทะเลอ่าวไทย มีพื้นที่ราว ๒๑ ตารางกิโลเมตร เชื่อไหมว่า ในแม่นํ้าโขงช่วงที่ไหลผ่านแขวงจําปาสัก ภาคใต้ของลาว มีเกาะขนาดใหญ่กว่าเกาะเต่าถึง ๔ เท่าตั้งอยู่ นั่นคือดอนโขง หรือเกาะโขง ตรงบริเวณที่แม่นํ้าโขงกว้างสุด ถึง ๑๕ กม. และยังมีเกาะแก่ง หรือที่คนลาวเรียก “ดอน” นับได้ถึงสี่พันดอน
“หมอลำโคตรซิ่ง” ยุคอีสานสร้างสรรค์มันต้องรอด
ภูมิภาคอีสานบ้านเฮามหรสพที่บันเทิงเริงใจ และปลุกเร้าพลังให้ลุกขึ้นเต้นฟ้อนอยู่ได้ตลอดทุกยุคสมัยนั่นก็คือหมอลำ หมอลำคือศิลปะการแสดงที่อยู่คู่กับคนอีสานมาช้านาน จนมีคำพูดบอกว่า “ถ้าใครได้ยินเสียงแคนแล้วไม่ลุกขึ้นฟ้อนรำนั่นไม่ใช่คนอีสาน”
พระพุทธมิ่งเมือง พระพุทธรูปยืนวัดสุวรรณาราม
วัดพุทธมงคลประดิษฐานพระพุทธรูปยืนมงคล ขณะที่วัดสุวรรณาวาส ประดิษฐานพระพุทธมิ่งเมือง พระพุทธรูปทั้งสองมีตำนานเกาะเกี่ยวกัน คนสร้างคนเดียวกัน ทั้งสององค์เป็นศูนย์รวมใจของชาวมหาสารคาม และพุทธศาสนิกชนทั่วไป
ปัญจอันตรธาน : สาระสำคัญที่ไม่ควรมองข้ามในงานบุญผะเหวด
บุญผะเหวด ไม่ใช่งานบุญที่เน้นเนื้อหาเรื่องการสร้างทานบารมีเท่านั้น เพราะทุกชาติพระโพธิสัตว์ต่างทรงบำเพ็ญบารมี ๑๐ อย่าง เรียกว่า "ทศบารมี"
หัวคันไดบ้าน
ราว พ.ศ. ๒๕๙๐ กว่า ๖๐ ปีมาแล้ว ผู้เขียนยังเรียนอยู่มัธยมต้น เตี่ยกับแม่เปิดร้านขายอาหารจีนอยู่ที่อำเภออำนาจเจริญ ส่วนบ้านเกิดของแม่อยู่ที่อำเภอม่วงสามสิบ ตากับยายและญาติ ๆ ยังอยู่ ช่วงปิดเทอมทุกปีแม่มักจะใช้ผู้เขียนนำสิ่งของเครื่องใช้ของฝากไปเยี่ยมตากับยายและญาติ ๆ ที่หมู่บ้าน “ยางเคลือ” อ.ม่วงสามสิบ เพราะเห็นว่าผู้เขียนเป็นหลานรักของยาย เป็นภาพประทับใจฝังในความจำมาจนถึงปัจจุบันนี้