นิตยสารทางอีศาน ฉบับปัจจุบัน

Sticky Post

ทางอีศาน ฉบับที่ 151

‘ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต’ นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๑๕๑ ปีที่ ๑๓ ประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๗ ภาพประดับปกโดย ณรงชัย ประทุมมาตย์หลากหลายด้วยข้อเขียนคุณภาพ มากด้วยวรรณศิลป์ อาทิ๐ ตำนานอุรังคธาตุ : ภาพสะท้อนวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำโขง | ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ๐ ร่างตราเมืองเวียงจันท์ จ.ศ.๑๑๘๑ (พ.ศ.๒๓๖๒): พระพุทธเลิศหล้าฯ, สวนขวา และเจ้าอะนุวง (ก่อนเปิดศึกกับสยาม) | กำพล จำปาพันธ์๐ นักเขียนสตรีลาวรุ่นใหม่ กับความเป็น “นักคิด” ที่เผชิญอุปสรรค | “คมศิลป์”๐ “กำเลิด&#...
Read More

เรื่องเด่น

{"page-item-id":"box1_2","title-type":"left","title":"\u0e40\u0e23\u0e37\u0e48\u0e2d\u0e07\u0e40\u0e14\u0e48\u0e19","title-background":"","title-link":"","category":"","tag":"%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%ad%e0%b8%b5%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%99143","num-fetch":"4","blog-style":"blog-widget-large","with-feature":"enable","with-tag":"disable","blog-size":"3","blog-layout":"carousel","num-excerpt":"0","thumbnail-size":"post-widget-left-featured","feature-thumbnail-size":"medium","orderby":"date","order":"desc","offset":"","pagination":"disable","enable-sticky":"enable","margin-bottom":"0","carousel":true,"carousel-class":" newsstand-blog-ajax "}

ข่าวเด่น / บทความล่าสุด

ร่วมประกอบส่วน
ร่วมประกอบส่วน

เมษายน 10, 2025

# คำประกาศเกียรติคุณนิตยสารรายเดือน “ทางอีศาน” ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๘
# คำประกาศเกียรติคุณนิตยสารรายเดือน “ทางอีศาน” ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๘

เมษายน 10, 2025

รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๘
รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๘

เมษายน 10, 2025

ฝั่งชีวิต
ฝั่งชีวิต

เมษายน 3, 2025

ย่ำรอย
ย่ำรอย

เมษายน 1, 2025

previous arrow
next arrow

~ ท่องเที่ยวแหล่งอารยธรรม ครั้งที่ 9 # “มรดกโลกภูพระบาท” ตอนที่ 3

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท (ตอนที่ 3)คลิปวิดีโอ ~ ท่องเที่ยวแหล่งอารยธรรม ครั้งที่ 9# “มรดกโลกภูพระ...
Read More

~ ท่องเที่ยวแหล่งอารยธรรม ครั้งที่ 9 # “มรดกโลกภูพระบาท” ตอนที่ 2

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท (ตอนที่ 2) คลิปวิดีโอ ~ ท่องเที่ยวแหล่งอารยธรรม ครั้งที่ 9# “มรดกโลกภูพร...
Read More

~ ท่องเที่ยวแหล่งอารยธรรม ครั้งที่ 9 # “มรดกโลกภูพระบาท” ตอนที่ 1

คลิปวิดีโอ ~ ท่องเที่ยวแหล่งอารยธรรม ครั้งที่ 9# “มรดกโลกภูพระบาท” ตอนที่ 1วิทยากร ผศ.ดร.พิพัฒน์ กระ...
Read More

จากใจทางอีศาน

สำนึกร่วมทางประวัติศาสตร์

เหตุการณ์เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ เป็น “จิตสำนึกร่วมทางสังคม” และพัฒนาขยายตัวเป็น “สำนึกทางประวัติศาสตร์” เชื่อมต่อมาจากเหตุการณ์วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ และต่อเนื่องเป็นเหตุการณ์วันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙

ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์

“วัดถ้ำจันทรคราส” อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

30 กรกฎาคม 2567 เริ่มต้นเดินทางเรียนรู้ ร่วมสำรวจ ใบเสมาองค์ประกอบสำคัญของ ...
Read More

มนต์เพลงอีศาน

เพลงอีสานลำเพลิน (ไม่ธรรมดา) (๔๑)

พ.ศ.๒๕๑๑ ผู้สร้างและผู้กำกับภาพยนตร์ที่มีฉายาว่า “เสือปืนไว” ครูรังสี ทัศนพยัคฆ์ ได้สร้างภาพยนตร์เรื่อง “ชาติลำชี” เป็นภาพยนตร์บู้

“ดาวเวียง” กับโรงแรมเวียงวิไล

“โอ้เวียงจันทน์ แดนนี้ฉันเคยได้ไป โอ้เวียงวิไล แดนที่ฉันนั้นเคยได้พัก เจอะคนรักก็ที่เวียงราตรี” บทเพลงท่อนนี้ ทำให้ต้องมาทบทวนความทรงจำ สมัยที่ข้ามโขงติดสอยห้อยตามนักข่าวอาวุโสไปสัมภาษณ์ท่านไกสอน พมวิหาน นายกรัฐมนตรี สปป.ลาว เมื่อกลางปี ๒๕๓๓

“สุรสีห์ ผาธรรม” ผู้ชุบชีวิต “เพลงบ้านนาลาว”

“สุรสีห์ ผาธรรม” มาเกี่ยวข้องกับเพลงลาวได้ยังไง? หลายคนอาจรู้จักสุรสีห์ในฐานะผู้กำกับหนังครูบ้านนอก แต่ไม่เคยทราบมาก่อนว่า เขาข้ามโขงไปปลุกตลาดเพลงลาวให้คึกคักขึ้นมา

จากร้านแผ่นเสียงถึงค่ายเพลง คงเหลือแต่ตำนาน

โลกของความบันเทิง โดยเฉพาะศิลปะด้านเสียงเพลง คงมีติดตัวสืบทอดกันมาตั้งแต่เกิดเป็นมนุษย์โน่นแหละ พัฒนาจากการร้องโหวกเหวก โหยหวน

เพลงทางอีศาน บรรเลงโดย วงคีงไฟ

บันทึกวีดีโอจากงานเสวนา-สังสันทน์ 3 ปีนิตยสารทางอีศาน ณ "หมู่บ้านอีสาน - จิม ทอมป์สัน ฟาร์ม" อ.ปักธงชัย อ่านบทกวีโดย บรรณาธิการนิตยสารทางอีศาน ทองแถม นาถจำนง(โชติช่วง นาดอน)

อีสานบ้านเฮา

ท่องเที่ยวอารยธรรมทางอีศาน วันที่ 8 พฤษภาคม 2567 พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ~ เมืองเสมา ~ ปราสาทปรางค์นางผมหอม ~ มหาเจดีย์เขาคลังนอก

ท่องเที่ยวอารยธรรมทางอีศาน วันที่ 8 พฤษภาคม 2567 พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ~ เมืองเสมา ~ ปราสาทปรางค์นางผมหอม ~ มหาเจดีย์เขาคลังนอก

เฮ็ดกิ๋นแซบ

ผู้คนในภาคอีสาน มีฝีมือในการปรุงอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ประจำถิ่นได้อย่างยอดเยี่ยม การปรุงอาหารของคนในภาคอีสาน จะมีการถ่ายทอดสืบต่อกันแบบรุ่นสู่รุ่น แม่บ้านบางคนคิดสูตรเด็ดจนสามารถเปิดร้านขายอาหารอีสาน สร้างฐานะให้ครอบครัวได้ มีร้านอาหารบางแห่งคิดสโลแกนเขียนขึ้นป้ายให้ผู้ที่เข้าไปในร้านได้อ่านและเข้าใจ มีตัวอย่างที่เคยพบ เช่นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ มีร้านอาหารแห่งหนึ่งเขียนว่า “ได้ดื่มน้ำเย็น ได้เห็นรอยยิ้ม ได้อิ่มอาหาร ได้รับบริการประทับใจ” ก็นับว่าเป็นยุทธศาสตร์ทางธุรกิจอีกอย่างหนึ่ง

เมืองแห่งหอมแดง

พี่น้องชาวบ้านแถบ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ ปลูกหอมกันมาก เรียกว่าเมืองแห่งหอมหัวแดง แห่งหนึ่งก็ได้ และบางส่วนได้บุกเบิกปลูกแบบอินทรีย์ นำชื่อเสียงมาสู่เกษตรกรถ้วนหน้า

เรื่องผี

พูดเรื่องผีแล้วยังพิสูจน์กันไม่ได้ว่า ผีมีจริงหรือไม่? แต่ถึงกระนั้นผู้คนก็ยังกลัวผีกันอยู่ไม่น้อย อย่างไรก็ตามผู้คนทางอีสานก็ยังมีประเพณีถือผีกันอยู่ เช่น พิธีผีหมอเหยาของชาวบ้านไทกะเลิง พิธีเลี้ยงผีของไทโส้ ที่เรียกว่า “แซงสะนาม” การรักษาผู้ป่วยด้วยการประกอบพิธีรำผีฟ้า การเลี้ยงผีมเหสักข์หลักบ้านก่อนถึงฤดูทำนา และการเลี้ยงผีตาแฮก เป็นต้น

อีสานพาเที่ยว

อีสานแซบ

เรื่องของอาหาร (๕)

การปรุงอาหารเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง รสชาติอาหารจึงเป็นรสชาติของศิลปะ รสชาติอาหารไม่ต่างจากรสชาติของบทกวี เรื่องสั้น นิยาย สารคดี ภาพถ่าย ภาพวาด การแสดง ฯลฯ การประกวดรสชาติอาหารหรือการประกวดงานศิลปะใดๆ นอกจากเป็นการไม่เข้าใจศิลปะแล้วยังเป็นการทำลายศิลปะอีกด้วย

เรื่องของอาหาร (๔)

อาหารมีหลายชนิดมีหลายประเภท ลิ้นจำรสชาติอาหารแต่ละชนิดแต่ละประเภทได้ ความสวยงามของอาหารมาจากความหลากหลายของรสชาติ สี และกลิ่น ความสวยงามของมนุษย์ก็คือความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ชีวทัศน์ และโลกทัศน์

เรื่องของอาหาร (๓)

มนุษย์หยามเหยียดกันด้วยอาหาร., สมัยก่อน(อีกแหละ) ผู้ดีรังเกียจอาหารไพร่ แค่เห็นสี แค่ได้กลิ่นทั้งที่ยังไม่ได้ลิ้มสัมผัสรสชาติก็รับไม่ได้ ทำท่าขยะแขยง คลื่นไส้ จะอ้วก., คนกรุงไม่กินปลาร้าเหยียดคนบ้านนอกกินปลาร้า กลิ่นเหม็นอย่างนั้นกินลงไปได้อย่างไร? นี่ก็จะอ้วกอีกเหมือนกัน., คนไม่กินเนื้อดิบๆ รังเกียจคนกินเนื้อดิบๆ หาว่าหยาบหนา ป่าเถื่อน ไม่มีวัฒนธรรมในการกิน !, ไพร่บางคนที่มีโอกาสได้ชิมอาหารของผู้ดีก็รับอาหารผู้ดีไม่ได้. อาหารอะไรใส่น้ำตาล ใส่กะทิ พวกน้ำตาลและกะทิมันต้องอยู่ในขนม ในของหวาน ว่าไปโน่นเลย !, คนบ้านนอกกินอาหารคนกรุงไม่เป็น น้ำพริกกะปิรสชาติออกหวานนิดหน่อย แบบนี้กินไม่เป็น มันไม่สะใจเหมือนแจ่วปลาร้า ฯลฯ

วรรณกรรม

“ฉันจะไปอนุสาวรีย์” ตอน อนุสาวรีย์จิตร ภูมิศักดิ์

ณ ชายทุ่งบ้านหนองกุง อ. วาริชภูมิ จ. สกลนคร สถานที่การสูญเสียอัจฉริยะทางวรรณศิลป์ ของปัญญาชนชื่อดังสมัยกึ่งพุทธกาล “จิตร ภูมิศักดิ์” ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาศาสตร์ นิรุกติศาสตร์ และวรรณคดี ผู้สร้างสรรค์ผลงานวรรณกรรมมีค่ามากมาย รวมถึงผลงานการวิจารณ์ที่มีคุณค่าต่อวงการวิชาการไทยหลายเรื่อง

ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน ตอนที่ 9

วันหนึ่ง, เมื่อคณะของหลวงสากลกิจฯเสร็จการตรวจตราการทำแผนที่แล้วเดินทางกลับเข้ากรุงเทพฯ แต่ฉันยังมีคำสั่งให้ช่วยพระยอดเมืองขวางทางด้านนี้อยู่ หมื่นประจักษ์สนิทนึกก็ชักชวนฉันขึ้นท่าที่เมืองนครพนม “ผมรู้ว่าท่านห่างบ้านห่างครอบครัวมานานชวนไปแสวงหาความสำราญคงไม่ว่าอะไร?” “จะว่าอะไรได้” ฉันบอก “นั่งดื่มเหล้าเว้าความลาวแล้วเมาหลับไป ทำกันอยู่บ่อย ๆ” “หามิได้ขอรับ บริวารผมที่นครพนมมีความสำราญอย่างใหม่” “บอกได้มั้ย ว่าความสำราญนั้นเป็นอย่างใด?” “ท่านต้องไปพิสูจน์ด้วยตัวท่านเองขอรับ”

ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน ตอนที่ 7

นายจำรัส ดนัยมนัสราษฎร์ เปิดบันทึกจางวางดนัยมนัสราษฎร์อ่านต่อไปแบบวางไม่ลง ท่านเจ้าคุณปู่ได้วางโครงวางแนวไว้ชวนติดตามแทรกเนื้อหาทางประวัติศาสตร์ พร้อมทั้งวิเคราะห์และวิจารณ์อย่างผู้ทรงภูมิรู้ เมื่อเอาข้อความของผู้ใดมาจะบอกไว้ว่าอ้างอิงจากหนังสือเล่มนั้นและเล่ม นี้ แสดงให้เห็นว่าท่านเป็นผู้เคารพผู้อื่น ถ้าอ้างถึงคนอื่นว่ากล่าวถ้อยร้อยความอย่างใด ท่านก็จับใจความ มาแต่เฉพาะความจริง ไม่ใช่นำมาตีไข่ใส่น้ำทำให้เลอะเทอะเปรอะเปื้อนและเป็นเท็จ แสดงให้เห็นว่าท่านเป็นผู้มีความเป็นธรรม จึงรักษายุติธรรมไว้ได้

จดหมายจากนักอ่าน

จดหมายจากผู้อ่าน

ขอแจ้งให้สมาชิก และพี่น้องปล้องปลายทราบทั่วกันในที่นี้เลยว่า มีข่าวสารข้อเขียนเรื่องราวใด ๆ ให้ติดต่อสำนักที่อยู่กรุงเทพฯ แห่งเดียวเท่านั้นขอบพระคุณคุณพ่อประสาสน์ รวมทั้งคุณพ่อบุญเลิศ สดสุชาติ ในความเมตตาส่งข้อเขียนและคำพรมาให้ชาวคณะทางอีศานเป็นประจำครับ

ทางอีศาน 33 : จดหมาย

วาทกรรมเฟซบุ๊ก / วาทกรรมเฟซบุ๊กสนุกนัก ทั้งบอกรักทักทายหลายเหตุผล บ้างพรํ่าเพ้อคิดเองแปลกชอบกล อลวลไปมาโลกออนไลน์ ทั้งอัพรูปโปรไฟล์หลากรูปแบบ ด่ากันแบบแสบคันมันเหลือหลาย ลงสิ่งดีน่ายกย่องก็มากมาย แต่สุดท้ายเขียนให้อ่านเบิกบานใจ

ทางอีศาน 32 : จดหมาย

ทางอีศาน : เรื่อง หมอลำ ในทุก ๆ ด้านมีการศึกษาค้นคว้ารวบรวมไว้พอสมควร “ทางอีศาน” จะประมวลมานำเสนอ และทราบว่ามีการตั้ง สถาบันหมอลำ ขึ้นโดย จิม ทอมป์สัน ที่สำนักงานกรุงเทพฯ รายละเอียดจะรายงานให้ทราบในโอกาสต่อไป.

ทางอีศาน 31 : จดหมาย

วันนี้ผมนึกได้ว่า ผมมีหนังสือที่น่าจะส่งมาเพื่อแสดงความขอบพระคุณคุณอยูเล่มหนึ่ง คือ หนังสือ “คำกลอน พืชสมุนไพรในบ้าน” ซึ่งในเล่มก็มีการเล่าประวัติส่วนตัวของผมรวมอยู่ด้วย แต่อยากจะให้ดูที่สาระของหนังสือนี้ หากว่าส่วนหนึ่งส่วนใดในหนังสือเล่มนี้ที่คุณว่าควรจะนำเสนอในทางอีศานบ้างก็จะยินดีมาก

นิตยสารทางอีศาน

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com