Category

ศิลปวัฒนธรรม – ประวัติศาสตร์

หลุมศพ “โนนเมือง” ชุมแพ ราวกระดูกกว่าสองพันปีที่พูดได้

เมืองโบราณโนนเมือง อยู่ในพื้นที่บ้านโนนเมือง ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จังหวัดขอนแก่น จากหลักฐานทางโบราณคดีที่ขุดค้น พบว่าเคยเป็นสถานที่มนุษย์อยู่อาศัยมาอย่างต่อเนื่อง

ต้นกำเนิดนิทาน “ตาเจี้ย ตาลูน – ปลาบู่ทอง – เต่าคำ และซินเดอเรลล่า”

นิทานเรื่องปลาบู่ทองเป็นนิทานที่ชาวจ้วง –ลาว–ไท เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ ชาวไทยเรียก “ปลาบู่ทอง” ชาวล้านนาและไทใหญ่เรียก “เต่าน้อย อองคำ” หรือ “นางยีแสงก่อ” (คือนางเอื้อย) หรือ “นางอุทธรา” (คือนางเอื้อย) ทางลาวเรียก “เต่าคำ” ทางจ้วงเรียก “ตาเจี้ย” (นางกำพร้า, ‘ตา’ เป็นคำนำหน้าเรียกหญิงสาว, ‘เจี้ย’ แปลว่า กำพร้า)

จิตแพทย์ ในชาติพันธุ์อีศาน

จิตแพทย์ในชาติพันธุ์อีศานที่กล่าวถึงนี้ หมายถึง บุคคลที่ผ่านการเรียนรู้ทั้งทางโลกและทางธรรมจนได้รับการยกย่องให้เป็นจารย์ (อาจารย์), เป็นทิด (บัณฑิต) มีความเชี่ยวชาญ รอบรู้ทางด้านไสยศาสตร์และจริยศาสตร์ไปพร้อม ๆ กัน

สงกรานต์ ผ่าน เคลื่อน ย้าย : อะไรผ่าน อะไรเคลื่อน อะไรย้าย

เมื่อถึงโอกาสเดือนห้าเมษายนของทุกปี สิ่งที่ผู้เขียนต้องทำเป็นหน้าที่เสมอมาคือการประกาศสงกรานต์ตามอริยประเพณีอีสานโบราณ ตามที่ได้สืบทอดภูมิปัญญาด้านโหราศาสตร์จากนักปราชญ์อาจารย์รุ่นก่อน

เมืองฮม เมืองโบราณกว่า ๔๐๐ ปี ของลาว

ษุภมัสตุ พระราชอาจญาลายจุ้มสมเด็จบรมบพิตรพระเปนเจ้าตนเปน พระทรงพระราชกรูณาลูกพระยาขวาง ให้เอาหมู่ซุมแต่พ่อไปตั้งในเมืองฮม เขตแดนไร่นา งวดค่าอากรหลางกับเมืองฮมมีท่อใดให้จัดตราเอาทั้งมวล อันใดหลางขึ้นราชโกฎให้นำมาถวายตามจารีต

พิธีกรรมหลังความตายในครั้งบรรพกาลของชาวอุษาคเนย์

เรื่องราวพิธีกรรมหลังความตายในอดีตของชาวอุษาคเนย์ ถูกบันทึกไว้ในนิทานน้ำเต้าปุ้ง กล่าวถึงการปลงศพด้วยการเผาและการฝังมีการส่งข้าวปลาอาหารให้ผู้ตายเหมือนครั้งยังมีชีวิต

อีสาน ในประวัติศาสตร์และวรรณกรรม

อีสาน ภูมิภาคที่มีภาพลักษณ์ที่ไม่รื่นรมย์ในการรับรู้และทัศนะของผู้คนภายนอกพื้นที่ และถูกตอกยํ้าด้วยวาทกรรมจากงานวรรณกรรม งานเขียนประวัติศาสตร์ แต่ด้วยความกว้างใหญ่ของพื้นที่ ๆ มีเขตติดต่อกับเพื่อนบ้านที่มีระยะทางยาว ทำให้มีทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมหลากหลาย เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ ทั้งด้านการพัฒนา การค้า การเมือง

ร่องรอย “ผู้หญิงเป็นใหญ่” ในตำนานไท-ลาว

ในเอเชียโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่สัมพันธ์กับไทคดีศึกษา นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา โบราณคดี ภาษาศาสตร์ คติชนวิทยา ฯลฯ จำนวนหนึ่งเชื่อว่าสังคมไท-ลาว (คนที่พูดภาษาตระกูลไท-ลาว) ในสมัยโบราณเมื่อครั้งยังนับถือผี (เทพ/แถน/พระเจ้า-ในภาษาอังกฤษใช้คำเดียวกันคือ Animism) ไม่ได้นับถือศาสนาพุทธ เคยเป็นสังคมที่มีแม่เป็นศูนย์กลางหรือแม่เป็นใหญ่

พระแซกคำ

พระแซกคำ พระพุทธรูปสำคัญซึ่งปัจจุบันประดิษฐานอยู่ ณ วัดคฤหบดี แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กทม. นั้น คนส่วนใหญ่เข้าใจว่า เป็นพระพุทธรูปจากประเทศลาว(ล้านช้าง) แต่จากประวัติศาสตร์ลาว มีบันทึกชัดเจนว่า พระเจ้าโพทิสาราช (โพธิสารราช) พระราชบิดาของพระเจ้าไชยเชถถาทิราช (ไชยเชษฐาธิราช) ขอไปจากนครเชียงใหม่-ล้านนา

กู่สันตรัตน์ มณีแห่งนครจำปาศรี

เมืองโบราณ นครจำปาศรี อยู่ในพื้นที่อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ตัวเมืองมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตรงมุมมน กว้างประมาณ ๑,๕๐๐ เมตร และยาวประมาณ ๒,๗๐๐ เมตร

ประวัติและที่มา ทำไมจึงมีโรคและมียารักษา

กาลครั้งนั้นแล บนโลกนี้มนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย ได้อาศัยอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข สรรพสิ่งบนโลกมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันมาชั่วกาลนาน แต่อยู่มาวันหนึ่งทุกสิ่งทุกอย่างก็เริ่มแปรเปลี่ยนไป เริ่มมาจากความโลภความโกรธและความหลงของมนุษย์ เป็นตัวแปรที่สำคัญในการทำให้สรรพสิ่งบนโลกนี้เปลี่ยนแปลงไปด้วย

ว่าด้วยวัฒนธรรม

“วัฒนธรรมเป็นองค์รวมที่สลับซับซ้อนรวมไปถึงวิทยาการ ความเชื่อ ศิลปะ คุณธรรมกฎหมาย ขนบประเพณี ความสามารถ และความเคยชินทั้งปวงที่มนุษย์ได้รับจากสังคม” - E.B. Tylor

ประเด็นประวัติศาสตร์ เหตุเกิดที่วัดโพธิ์ย้อย อ.ปะคำ จ.บุรีรัมย์

ในรัฐสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ.2444 เจ้าฟ้ากรมพระยานครสวรรค์วรพินิจ ได้เสด็จจากเมืองโคราชจะไปยังเมืองศรีโสภณผ่านมาที่ด่านปะคำ

ประวัติโบสถ์ไม้วัดโพธิ์ย้อย อ.ปะคำ จ.บุรีรัมย์

จากการสอบถามคุณยายยวง แป้นดวงเนตร ผู้เฒ่าผู้แก่เมื่อก่อนนั้นเล่าว่า เมื่อสมัยยายยังเป็นเด็ก ยายยังมีทวดอีกหลายคนและญาติพี่น้องในหมู่บ้าน เช่น ทวดคง ทวดมาก แม่เฒ่าเกิด การเขียนรายชื่อเหล่านี้เพื่อบังสุกุลอุทิศส่วนกุศลให้กับบุคคลที่ล่วงลับ และคุณยายบอกว่าพ่อของคุณยายเคยอุ้มไปที่วัดโพธิ์ย้อย
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com