นิตยสารทางอีศาน ฉบับปัจจุบัน

Sticky Post

ทางอีศาน ฉบับที่ 149

ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต’ นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๑๔๙ ปีที่ ๑๓ ประจำเดือนกันยายน ๒๕๖๗ภาพประดับปกโดย ตนุุพล เอนอ่อนหลากหลายด้วยข้อเขียนคุณภาพ มากด้วยวรรณศิลป์ อาทิ๐ ตำนานอุรังคธาตุ : ภาพสะท้อนวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำโขง | ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ๐ ฮีต คอง ธรรม คนลาวก้ำฝั่งซ้าย ตอน ‘การอบรมเลี้ยงดูลูก’ | “จินตรัย”๐ คัมภีร์ใบลานกับผ้าห่อคัมภีร์ที่วัดศรีชมชื่น บ้านพิมาน อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม ภาพสะท้อนบทบาทหญิงชายในการทำบุญสร้างกุศลในริมฝั่งโชง | สาวิตรี สุรรณสถิตย์๐ ยินดีกับอดีตคอมมิวนิต...
Read More

เรื่องเด่น

{"page-item-id":"box1_2","title-type":"left","title":"\u0e40\u0e23\u0e37\u0e48\u0e2d\u0e07\u0e40\u0e14\u0e48\u0e19","title-background":"","title-link":"","category":"","tag":"%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%ad%e0%b8%b5%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%99143","num-fetch":"4","blog-style":"blog-widget-large","with-feature":"enable","with-tag":"disable","blog-size":"3","blog-layout":"carousel","num-excerpt":"0","thumbnail-size":"post-widget-left-featured","feature-thumbnail-size":"medium","orderby":"date","order":"desc","offset":"","pagination":"disable","enable-sticky":"enable","margin-bottom":"0","carousel":true,"carousel-class":" newsstand-blog-ajax "}

ข่าวเด่น / บทความล่าสุด

ร่วมประกอบส่วน
ร่วมประกอบส่วน

เมษายน 10, 2025

# คำประกาศเกียรติคุณนิตยสารรายเดือน “ทางอีศาน” ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๘
# คำประกาศเกียรติคุณนิตยสารรายเดือน “ทางอีศาน” ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๘

เมษายน 10, 2025

รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๘
รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๘

เมษายน 10, 2025

ฝั่งชีวิต
ฝั่งชีวิต

เมษายน 3, 2025

ย่ำรอย
ย่ำรอย

เมษายน 1, 2025

previous arrow
next arrow

โลกหลังประชาธิปไตย (5)

แนวคิด “ราชาธิปไตยเทคโน” ของยาร์วิน มองเห็นสังคมที่ปกครองโดยอำนาจส่วนกลางหรือ “ซีอีโอ” ซึ่งมีอำนาจเกือบสมบูรณ์แบบ โดยอุดมคติคือการดำเนินงานด้วยประสิทธิภาพและความมีเหตุผลเช่นเดียวกับบริษัทเอกชน โมเดลนี้ให้คุณค่ากับการรวมศูนย์อำนาจอย่างเข้มแข็ง การขจัดความไม่มีประสิทธิภาพของระบบประชาธิปไตย และชนชั้นนำที่มีความสามารถสูงซึ่งตัดสินใจโดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติ

โลกหลังประชาธิปไตย (4)

เคอร์ติส ยาร์วิน เป็นนักทฤษฎีการเมืองที่เกี่ยวข้องกับขบวนการ “เรืองปัญญามืด” (Dark Enlightenment) นั้น เสนอแนวคิดที่ไม่เหมือนใครเกี่ยวกับรูปแบบการปกครอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งที่เขาเรียกว่า “ ราชาธิปไตยเทคโน” หรือ "Neo-cameralism” ซึ่งเป็น “การปกครองโดยผู้นำอำนาจเด็ดขาดเหมือนกษัตริย์” ที่ดำเนินการเหมือนซีอีโอบริษัทที่มีประสิทธิภาพสูง เขามีแนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบบนี้ดังนี้

โลกหลังประชาธิปไตย (3)

แนวคิดของยาร์วินกับมักเกียเวลลีมีอะไรหลายอย่างที่คล้ายและแตกต่างกัน ขบวนการ “เรืองปัญญามืด” และแนวคิดเรื่อง “ราชธิปไตยเทคโน” ของยาร์วินเน้นการวิจารณ์ประชาธิปไตยและเสนอระบบการปกครองแบบรวมศูนย์ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งคล้ายกับการบริหารบริษัทเทคโนโลยี แนวคิดเหล่านี้สามารถเปรียบเทียบกับผลงานทางการเมืองคลาสสิกของมักเกียเวลลี อย่าง “เจ้าผู้ปกครอง” (The Prince) ดังนี้

จากใจทางอีศาน

ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์

วังช้าง ~ เวียงจัน สปป.ลาว

วังช้างเป็นแหล่งโบราณคดีที่สวยงามใกล้กับสุสานช้าง สถานที่แห่งนี้เคยเป็นที่เ...
Read More

เกร็ดทริปท่องเที่ยวเวียดนาม

0 ขณะนี้ที่สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม โดยเฉพาะเมืองเดียนเบียนฟู (หรือเมืองนาน้อยอ้อยหนู, แถน, แถง) กำลังขะมักเขม้นเตรียมเฉลิมฉลองชัยชนะครบรอบ 70 ปี“ยุทธการเดียนเบียนฟู” ในเดือนพฤษภาคมนี้

คณะท่องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เวียดนามได้สร้างสะพานวัฒนธรรมเชื่อมมิตรภาพระหว่างประชาชน

คณะท่องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เวียดนามได้สร้างสะพานวัฒนธรรมเชื่อมมิตรภาพระหว่างประชาชนโดยการมอบของขวัญและหนังสือระหว่างผู้เหย้าผู้เยือน

มนต์เพลงอีศาน

อีสานบ้านเฮา

“คนคลั่งครั่ง”

“มีไหมบ่มีครั่งย้อม มันบ่ห่อนแดงเอง คันบ่หาฟืมฟัด ต่ำทอบ่มีแล้ว มีไหมบ่มีเข็มห้อย สิเอาหยังหยิบแส่ว มีเข็มบ่มีไหมห้อยก้น สิหยิบได้ฮ่อมได๋”           ผ...
Read More

เรื่องข้าวที่เขา (ทองแถม) ไม่ได้เล่าให้ฟัง

คนไทยกินข้าวเป็นอาหารหลักมานาน นานจนอดนึกไม่ได้ว่า ตอนยังไม่เป็นคนไทยก็คงกินข้าวเหมือนกัน กินจนติดเป็นนิสัย กินอาหารอื่นมากเท่าใดก็ไม่รู้สึกอิ่มเหมือนกินข้าว นอกจากรู้จักกินข้าวแล้ว ดูเหมือนว่าเรารู้เรื่องราวของข้าวที่กินทุกมื้อทุกวันน้อยเหลือเกิน รู้บ้างก็กระท่อนกระแท่น ไม่ปะติดปะต่อ รู้จริงบ้างนิดหน่อย แต่ส่วนใหญ่รู้ไม่จริง

จันทน์เทศ ไม้ที่มีค่าควรเมือง

ไม้รู้จักจันทน์เทศหรือครับ ไม่แปลกอะไร คนไทยส่วนใหญ่ก็ไม่รู้จักไม่เคยเห็น ไม่รู้ด้วยซํ้า ว่าเอาไปทําอะไร กลิ่นเป็นอย่างไรก็นึกไม่ออก ใครบางคนบอกก็อยู่ในเครื่องแกงมัสมั่นไง โธ่ ก็มีเครื่องเทศตั้งหลายอย่าง แยกกลิ่นไม่ได้หรอก

สาวผู้ไทในนอร์เวย์ ปึ้มใหม่ของสำนักพิมพ์ “ทางอีศาน”

เรื่องราวเข้มข้นปนขันขื่นของสาวผู้ไทอุดรธานีกับวิศวกรหนุ่มใหญ่นอร์วีเจี้ยน และ “อิเบะ” ยายผู้หาญกล้าเคลื่อนโลกตนเองจากท้ายไร่อ้อยอีสานเหนือไปบรรจบป่าแครนเบอร์รี่บนภูสูงนอร์เวย์ จนถึงชายทุ่งเยอรมนี เพื่อเยี่ยมยามถามข่าวลูก หลาน เหลน

อีสานแซบ

อาหารพื้นบ้านกับการถนอมอาหาร ความลับที่ไม่ลับในจานบ้านเฮา

พื้นที่ที่ฉันอยู่เป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ในเขตตำบลหนึ่งของจังหวัดนครราชสีมา ผู้คนที่นี่ยังมีวิถีการดำรงชีวิตการกินอยู่อย่างเรียบง่าย สิ่งที่ช่วยในการชูรสอาหารของที่นี่ เรียกได้ว่าแทบจะใส่ในทุกจานเลยก็ว่าได้ สิ่งนั้นก็คือ ปลาร้า หรือปร้า อันถือได้ว่าเป็นยอดมงกุฎแห่งอาหารอีสานตลอดกาล

วิถีกินอยู่คนอีสาน อาหารภัตตาคารในเถียงนาน้อย ลาบเทา

วันนี้ข้าพเจ้าจะพาทุกคนมารู้จักกับ เมนูอาหารอีสานพื้นบ้านซึ่งมีมาแต่โบราณกาล ส่งต่อกันมาจากรุ่นบรรพบุรุษเลยก็ว่าได้ เมนูที่ว่านั่นคือ ลาบเทา

ขนมถ้วยบ้านย่า

ขนมถ้วยถือได้ว่าเป็นขนมที่หารับประทานได้ไม่ยากนัก เพราะเวลาเราเดินเข้าไปนั่งในร้านก๋วยเตี๋ยว มักจะเห็นขนมถ้วยสีขาวนวลถูกนำมาวางไว้อยู่บนโต๊ะ

วรรณกรรม

นวนิยาย: กาบแก้วบัวบาน (๖)

“เจ้าก็รู้” เวียงจันทราย้ำคำพูดเสียงแจ่มใส “ที่ตระหง่านอยู่ต่อหน้าเจ้า คือเจดีย์พ้นทุกข์ ใครก็ตามที่มุ่งสู่ทางพ้นทุกข์ แต่ละคนดั้นด้นมากราบไหว้องค์เจดีย์ นั้นคือภารกิจพวกเขา ส่วนจะพ้นทุกข์หรือไม่ขึ้นอยู่กับวิธีการของแต่ละคน” ตวัดสายตากลับมาจ้องมองหน้าเหมราชเหมือนจะค้นหาอะไรบางอย่างที่ซ่อนลึกอยู่ในดวงตา “ทั้งเจ้า ทั้งข้า ทั้งองค์เจดีย์และผู้มากราบไหว้ ล้วนแต่มีภารกิจด้วยกันทั้งนั้น และภารกิจยังไม่สิ้นสุด”

วรรณกรรมพินิจ “ทาง” ของ ปรีดา ข้าวบ่อ โดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา

ดิฉันอ่าน “ทาง” ผลงานรวมบทกวีของคุณปรีดา ข้าวบ่อ อย่างรวดเร็ว ได้ข้อสรุปในใจชัดเจน จะขอเริ่มต้นพูดคุยแลกเปลี่ยนเลยนะคะ ถ้าจะจับ ‘ทางกวี’ ของคุณปรีดาในแง่ของความเป็น “อรรถกวี”

บักตูบ

บักตูบเป็นสุนัขแสนรู้ เป็นเพื่อนคู่ของคำหวึ่งมาตั้งแต่เล็กจนโต คำหวึ่งโตขึ้นสาวรุ่นเข้ากรุงเทพฯ ไปทำงานที่โรงงานทอผ้า ปีต่อมาคำหวึ่งกลับมาเยี่ยมบ้าน แต่งตัวเป็นสาวกรุงเทพฯ ทันสมัย

หมดฤทธิ์

มีคำร่ำลือว่าพ่อเฒ่าบุญเลิศ ชาวบ้านบุ่ง เป็นคนชอบสนุก เห็นสาวน้อยวัยขบเผาะที่ไรมัก หยอกล้อแซวเล่น เป็นประเภท “คนแก่ตัณหา กลับ”

จดหมายจากนักอ่าน

ใบหน้านักอ่าน ทางอีศาน

แม่ใหญ่หนา พิบูล อายุ 84 ย่าง ชาวบ้านป่าสังข์ อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด จบ ป.4 “ภาษาไทยนี่แข่งได้ ภาษาอื่นถ้าได้เรียนกะสิได่คือกัน” แม่ใหญ่ว่า แม่ใหญ่ตำหมากกินแล้วมานั่งอ่านทางอีศาน ไล่ไปตั้งแต่หน้าคณะผู้จัดทำ สารบาญ . . .

จดหมาย จากผู้อ่านทางอีศานฉบับที่ 20

“วีรบุรุษตีนเปล่า” เปลวแดดเผาแผดกล้า....ดุ่มเดินฝ่าท้าแดดฝน ตีน “กู” สู้สุดทน....แม้ ”กู” จนใช่กูเกรง ใครเห็นเป็นหยามเหยียด....พูดส่อเสียดเบียดข่มเหง หอบลูกผูกกระเตง....หมายรีบเร่งล่วงสู่เมือง นั่งรถเขามองหน้า....เขาถามหาค่าเงินเฟื้อง เพราะจนจึงขัดเคือง....ถูกเสือกไสไล่สาปส่ง ลูกน้อยคราวเกิดมา...สองดวงตามมันมืดลง ใจแทบแหลกเป็นผง....นํ้าตาร่วงทวงถามฟ้า เร่งรัดทำงานหนัก....มิรู้จักพักกายา

จากหัวใจนักเขียน “ทางอีศาน” ขอส่งสาส์นงานวันสงกรานต์ 2556

เย็นทั่วหล้ามหาสงกรานต์ ๏ เย็นฉ่ำล้ำชื่นรื่นเริงใจ เย็นห่างร้างโรคภัยใดใดหาย เย็นสุขศรีปรีดิ์เปรมเอมมิวาย เย็นเอิบอิ่มหมายกตัญญูคู่รักล้น ดื่มด่ำล้ำเลิศหล้ามหาสงกรานต์ ยิ้มสราญสนานสนุกเปี่ยมสุขท้น อิ่มรักล้อมย้อมใจยิ่งมิ่งมงคล ปีติยลชลสรงอร่ามงามสงกรานต์

นิตยสารทางอีศาน

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com