คำฉันท์ วรรณลีลามรดกชาติ (44) สมุทโฆษคำฉันท์ (32)

พวกพราหมณ์บูชาไฟ มีมาก่อนตั้งกรุงศรีอยุธยาที่หนองโสน(เวียงเหล็ก)แล้ว บริเวณที่พระเจ้าอู่ทองทรงสร้างราชธานีใหม่นั้น อยู่ใกล้สำนักนักพรต ชาวบ้านเรียกว่า ชีกุน คำนี้เพี้ยนมาจากคำว่า ชีกุณฑ์ แปลว่านักบวชผู้บูชาไฟ คือพราหมณ์นั่นเอง

บทร้อยกรองของ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ 50-53

๕๒. ศาสตรศิลป์เป็นเงินเป็นทรัพย์ ไปสำหรับกับผู้ตกไกล ปัญญาไวเป็นเงินของฝาก ยามเมื่อยากเกิดเหตุจิบหาย ธรรมทั้งหลายของดีเฮาก่อ เป็นของห่อต่อไว้ยามตาย ศีลทั้งหลายเป็นเงินเป็นแก้ว บ่ฮู่แล้วทุกเมื่อทุกยาม

บทร้อยกรองของ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ 45 – 48

๔๕. ประเทศใดราชาอามาตย์ คนฉลาดยศยิ่งเสมอกัน มีมะหันต์เหลือหลายในเขต ในประเทศเมืองบ้านแห่งใด เป็นนิสัยมานะกระด้าง มักอวดอ้างบ่เชื่อคำกัน เกิดฆ่าฟันผิดเถียงหาเหตุ ในประเทศเมืองนั้นส่วยแหลม ๔๖. อุปมาดอกบัวในนํ้า ขึ้นบ่ได้อาทิตย์ ๗ ดวง บ้านเมืองหลวงอาชญามีมาก แสนลำบากไพร่ฟ้าจิบหาย

คำผญา (๑๕) : “ไผมีความฮู้หาเงินก็ได้ง่าย ไผฉลาดฮู้เงินล้านก็แก่นถง”

“ไผมีความฮู้หาเงินก็ได้ง่าย ไผฉลาดฮู้เงินล้านก็แก่นถง” ใครมีความรู้ก็หาเงินได้ง่าย ใครฉลาดรู้เงินล้านก็แน่นกระเป๋า

สมุนไพรระงับปวด

“ปวด” คำ ๆ เดียวนี้ ทุกคนได้ยินเหมือนกัน แต่รับรู้ไม่เหมือนกัน คนส่วนใหญ่ไม่ชอบความเจ็บปวด แม้ว่าต้องพบเจอตั้งแต่เกิดจนตาย ความรู้สึกเจ็บปวดเป็นคุณสมบัติอันจำเป็น ที่ทำให้สัตว์ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่อาจเป็นอันตรายต่อตนเอง ถ้าไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดทารกที่เกิดมาคงอยู่รอดได้ไม่เกินหนึ่งวัน

เขากินอะไรเป็นข้าวกัน

ในแต่ละมื้ออาหารปกติของคนทั่วโลก ต้องมีของกินที่เป็นหลักอยู่อย่างหนึ่ง สำหรับคนไทยแล้วของกินที่ว่านั้นคือ ข้าว แล้วคนชาติอื่นกินอะไร บางคนบอกฝรั่งกินขนมปัง แต่เอ คนแอฟริกากินอะไรเล่า ในยุคสมัยที่ร้านอาหารไม่ถูกจำกัดด้วยความเชื่อ

กลิ่นข้าว กลิ่นดอกไม้ กลิ่นธูป และกลิ่นปิศาจ

วิทยาศาสตร์มองว่า กลิ่นเป็นสารเคมีที่เมื่อจับกับตัวรับกลิ่น ในส่วนบนของโพรงจมูกแล้ว ส่งสัญญาณไปยังสมอง หลังจากประมวลผลเปรียบเทียบกับกลิ่นและเหตุการณ์ในอดีต กำหนดเป็นการแสดงออกที่ยอมรับหรือไม่ยอมรับกลิ่นนั้น และยังเชื่อมโยงไปถึงความรู้สึก และอารมณ์อื่น ๆ

บอระเพ็ด : ยาพาราพื้นบ้าน

แก้ไข้ทุกชนิด แก้กระหายน้ำ บำรุงร่างกาย บำรุงหัวใจ เจริญไฟธาตุ เป็นยาเจริญอาหารแก้ร้อนใน แก้อักเสบบอกช้ำภายใน เป็นยาขม เจริญอาหาร ช่วยลดน้ำตาลในเลือด ช่วยลดความดันโลหิต

ผญาสมัย

งามวิว ​​ทิวทัศน์ฟ้า ผาหลั่นเลียนกัน เป็นถ้าน ​พะลานหิน ฮ่อมไพรพนอมไม้ พฤกษ์ภู ​​ดูสล้าง ลมพายใบพ่าง สะหวาง ​​งามหว่างใต้ ไกลก้ำต่ำขแมร์

ผญา – ยอดวรรณกรรมอีสาน

ผญา เป็นสำนวนคำพูดที่ไพเราะ คมคายลึกซึ้ง สละสลวย คนอีสานนั้นเป็นคนมีโวหาร เจ้าบทเจ้ากลอน พูดจาเป็นคำคม มีสัมผัสคล้องจอง ไพเราะ น่าฟัง ไม่ว่าจะเป็นโอวาท คำสั่งสอน คำตักเตือน ห้ามปราม หรือคำเกี้ยวพาราสีของหนุ่มสาวอีสานในอดีต สมัยโบราณนั้นคนอีสานมักพูดเป็นสำนวนภาษาแบบผญาเป็นส่วนมาก

ผงชูรสกับรสอูมามิ

ป้ายที่เขียนว่า “ร้านนี้ไม่ใช้ผงชูรส” อาจเป็นจุดขายของบางร้านอาหารในเมืองกรุง แต่ถ้าเป็นต่างจังหวัด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเขตอำเภอรอบนอกแล้วละก็ เขียนแบบนี้อาจขายไม่ได้เลย ในชนบททุกวันนี้ อาหารพื้นบ้านที่ปรุงโดยชาวบ้านแท้ ๆ ล้วนขาดผงชูรสไม่ได้ นี่เป็นเรื่องจริง

กลอนบทละคร (๕ – ๖)

กลอนบรรยายพระราชวังกรุงกุเรปัน ในบทละครอิเหนาครั้งกรุงเก่าข้างต้นนี้ ภาพที่บรรยายแท้จริงแล้วก็คือพระราชวังสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง เนื้อความตอนนี้จึงมีความหมายสำคัญทางประวัติศาสตร์ด้วยครับ การอ่านวรรณคดีนั้น เราจะได้ทั้งความไพเราะชื่นใจของภาษา และความรู้ทางประวัติศาสตร์ สังคมวิทยาด้วย

๓๖๕ น้ำพริกกับสวนรอบบ้าน – ๓. น้ำพริกมะอึกสองสูตร

น้ำพริกกุ้งแห้งควรใส่มะอึกมากกว่าน้ำพริกเบสิกหน่อย ปรุงด้วยน้ำปลาปลาสร้อย บีบมะนาวเอาตามชอบ บีบไปชิมไปอย่าให้เปรี้ยวเกิน (มะอึกสุกมีรสเปรี้ยวอยู่แล้ว) จำไม่ได้ว่าเห็นย่าใส่น้ำตาลปึกหรือเปล่า แต่สำหรับคนยุคนี้คงต้องใส่นิดหน่อยแหละครับ เพราะเราเสพติดน้ำตาลกันแล้ว

๓๖๕ น้ำพริกกับสวนรอบบ้าน – ๗. น้ำพริก ผกค. สูตร ๒ น้ำพริกแมงระงำ

ผมเป็น ผกค. ลูกกรุง หาอยู่หากินไม่เป็น อยู่ไหนก็ต้องพึ่งสหายชาวนา สหายชาวม้ง หาของกินมาเผื่อ อยุ่ในป่าดอยยาวสองปี ล่าสัตว์ได้ตัวเดียวคือ “อ้นตาบอด” ตัวเล็ก ๆ มันตาฟางเดินหลงขึ้นมาจากรู ผมจึงสามารถเอาไม้เคาะหัว หนีบติดตัวไปทำ “ป่น” หรือน้ำพริกใส ๆ

ทางอีศาน 66 : ทำดีถวายไท้

รัตนะ โกสินทร์ ถิ่นไทยรัก ซึ้งตระหนัก กษัตริย์ไทย ใจรักมั่น สามัคคี รวมแก่น แน่นรักกัน เทิดมิ่งขวัญ จักรี ศักดิ์ศรีไทย ‘พระภูมิพล’ เสด็จไหน ‘ใจไทย’อยู่ น้อมเชิดชู คำสอนสั่ง ตั้งใจใส่ จะกี่ภพ กี่ชาติ ตลอดไป จักทำดี ถวายไท้ เทอดนิรันดร์

คำฉันท์ (7) วรรณลีลามรดกชาติ เสียงตก

อำ ทำไมจึงเป็นลหุได้ เป็นครุก็ได้ แต่ อัม เป็นครุเสมอไป ความจริงก็คือ อำ เหมือนกัน จะว่าคำนิคหิตในภาษาสันสกฤตเป็นลหุก็ไม่ถูกต้อง เพราะความจริงเป็นครุในภาษาบาลีเหมือนกัน ถ้าถือรูปอักษรเป็นเกณฑ์ก็อาจจะว่าได้ว่าต่างกัน แต่เมื่อนิคหิตในภาษาบาลี-สันสกฤตก็เป็นครุด้วยกันแล้ว จะอ้างคารมรูปอักษรก็ไม่ได้
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com