สู่เวิ้งจักรวาฬอันไพศาล
พุทธ๐ วนฺทิตฺวา สิรสา สสทฺธ มฺมคณุตฺตม๐ อิท๐ เตภูมิสังฺเขป๐ปวกฺมิ กกฺ อิธ (เมื่อได้วันทาพระพุทธ พร้อมทั้งพระสัทธัมมที่ประเสริฐ ด้วยเศียรด้วยเกล้าแล้ว ข้าพเจ้าจะกล่าวเตภูมิสังเขป) เมื่อครั้งที่โควิด-๑๙...Read More
ปราสาทโคกงิ้ว ปราสาทเก่าในเงาอดีตกาล
อิฐทุกก้อน โบราณวัตถุทุกชิ้น ซากปราสาทเก่าทุกองค์ ลวดลายและรูปแบบศิลปะที่ปรากฏอยู่ เสมือนคำบอกเล่าความเป็นมา ให้ผู้คนได้เรียนรู้และเข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ของคนในอดีตกาล หนึ่งในร่องรอยบรรพชนในอดีตกาลนั...Read More
นิทานนางตันไต ตอนที่ ๕
ข้าแต่พระราซา บุรุษนั้นมี ๓ ซั้น คือ สูงสุด ผ้านกลางและต่ำ สะนั้นควรเลือกใช้ให้ถืกตามซนิดของงาน ทังสามสถาน คนใซ้ก็ดี เครื่องเอ้ ก็ดี ต้องปร...Read More
บุญข้าวสาก : ไปยามกัน สานสายใยเชื่อมโยงญาติ
มีคำผญากล่าวถึงบรรยากาศวิถีชีวิตงานประเพณีเดือนสิบ บุญข้าวสาก อยู่ว่า “ เถิงเดือนสิบ สิก่นมันมาต้ม พ่องกะงมกอข้าว หาเทากำลังอ่อน พ่องกะคนต่าน้อย ลงห้วยฮ่องนา เดือนนี้บ่ได้ช้...Read More
พระยืนพุทธมงคล มหาสารคาม รอยศรัทธาคุณค่าของตำนาน
พระพุทธรูปโบราณประดิษฐานวัดใด ถ้าวัดนั้นบริหารจัดการดี ย่อมเป็นที่สนใจของพุทธศาสนิกชน เสมือนมีแม่เหล็กดึงดูดคนให้เข้าวัด อย่างพระพุทธรูปยืนพุทธมงคล วัดพุทธมงคล อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม พระคู่บ...Read More
สะดืออีสาน
สะดืออีสาน อยู่ติดกับบึงน้ำขนาดใหญ่ชื่อว่าบึงกุย ตั้งอยู่ที่หมู่ 13 ตำบลหัวขวาง อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม สถานที่แห่งนี้ชาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือทราบกันดีว่าเป็นสัญลักษณ์หนึ่งของแดนอีสาน
วัดกู่ประภาชัย แบบบทของการดูแลพุทธสถาน
กู่ประภาชัยตั้งอยู่ในพื้นที่ของ “บ้านนาคำน้อย” ตำบลบัวใหญ่ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เป็นพุทธสถานขอมโบราณ สร้างราวสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ หรือพุทธศตวรรษที่ ๑๘ นับเป็นอีกหนึ่งมรดกภูมิปัญญาบรรพชนคนอีสาน
ภาพฝัน โดย สมคิด สิงสง
ผมตั้งชื่อสวนว่า “วนเกษตรอินทรีย์วิถีคนกับควาย เฮือนดินตีนภู” เพราะมันเป็นพื้นที่ทำการเกษตรแบบผสมผสาน ในเนื้อที่ ๓๐ ไร่ที่พ่อแม่แบ่งปันให้เป็นที่ทำกิน
บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๓)
ปัจจุบัน ‘กวีนิพนธ์ชาติพันธ์ุวรรณนา’ ได้รับความสนใจมากขึ้นในฐานะเป็น ‘ศาสตร์’ ที่ได้รับอิทธิพลจากทั้งวิชาคติชนวิทยา มานุษยวิทยา และวัฒนธรรมศึกษา ตามแนวคิดหลังสมัยใหม่
บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๒)
อีกหนึ่งตัวอย่าง ที่ดูง่าย ๆ แต่ก็ลึกซึ้ง คือบทกวีที่มีชื่อว่า “เล่นนอก” เป็นบทกวีที่ผู้เขียนชื่นชอบมากเป็นพิเศษอีกบทหนึ่ง
บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๑)
ผู้เขียน อ่าน “ทาง” ผลงานรวมบทกวีของ “ปรีดา ข้าวบ่อ” จบเล่มรวดเดียวเมื่อราวสามสี่ปีก่อน เพื่อใช้พูดสดในงานประชุมเสวนาทางวรรณกรรมครั้งหนึ่งของนิตยสารทางอีศาน ที่ไร่จิมทอมป์สัน ซึ่งคุณปรีดา ข้าวบ่อ บรรณาธิการทางอีศาน ได้ใช้โอกาสนั้นเปิดตัวหนังสือรวมผลงานกวีของตนเอง ชื่อว่า “ทาง”
“ข้ามภพ ข้ามชาติ ข้ามศาสตร์ ข้ามตัวบท” : เต้าตามทางอาจารย์ชลธิรา เรียนรู้วิธีวิทยาการศึกษาใน มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง (3) – ธัญญา สังขพันธานนท์
งานสืบค้นความเป็นมาของชุมชนคนไท/ไต ไม่เพียงแต่นำเสนอให้เห็นวิธีการศึกษาแบบสหวิทยาการและบูรณาการของหลักคิดและองค์ความรู้แบบข้ามศาสตร์ข้ามสาย แต่ยังแสดงให้เห็นถึงการใช้เครื่องมือ (tool) และวิธีวิทยาสำคัญ ๆ ของศาสตร์ที่เกี่ยวข้องซึ่งถูกคัดเลือกและระดมมาใช้ศึกษา วิเคราะห์ ตีความตัวบทประเภทต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายชัดเจนในการตอบคำถามและสร้างมุมมอง/องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับรกราก ความเป็นมาของชนชาติไท
“ข้ามภพ ข้ามชาติ ข้ามศาสตร์ ข้ามตัวบท” : เต้าตามทางอาจารย์ชลธิรา เรียนรู้วิธีวิทยาการศึกษาใน มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง (2) – ธัญญา สังขพันธานนท์
คำว่าตัวบท (text) ที่จะกล่าวถึงในตอนนี้ มีความหมายอ้างถึงอยู่สองระดับ ระดับแรก ไม่มีอะไรยุ่งยากซับซ้อน เพราะหมายถึงแหล่งข้อมูลที่อาจารย์ชลใช้ในการศึกษา วิเคราะห์เพื่อค้นหาความหมาย การเชื่อมโยงข้อมูล หลักฐาน การถอดรหัสนัยจากข้อมูลนั้น ๆ เพื่อหาคำตอบตามสมมุติฐานที่วางไว้
“ข้ามภพ ข้ามชาติ ข้ามศาสตร์ ข้ามตัวบท” : เต้าตามทางอาจารย์ชลธิรา เรียนรู้วิธีวิทยาการศึกษาใน มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง – ธัญญา สังขพันธานนท์
หลังจากงานศึกษาค้นคว้า เพื่อสืบสาวความเป็นมาของชนชาติไท /ไต ในงานเขียนทางวิชาการเล่มหนา ที่ชื่อว่า “มหากาพย์ฯ บรรพหนึ่ง: ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท” เมื่อปี พ.ศ.๒๕๖๑ แล้ว ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนา หรือ “อาจารย์ชล” ก็ได้เริ่มต้นสืบค้นศึกษาเพื่อสืบสาวความเป็นมาของชนชาติไทในบรรพที่สองโดยไม่รอช้า ชั่วระยะเวลาแค่สามสี่ปี ในขณะที่เราต่างถูกกักขังยาวนานอยู่ใน “คุกโควิด-19” อาจารย์ชลก็ผลิตงานเขียนชุดต่อเนื่องออกมาสู่วงวิชาการอีกครั้งหนึ่ง ในชื่อ “มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง: เต้าตามไต เต้าทางไท” ที่มีความเข้มข้นและอลังการไม่แพ้งานสืบสาวความเป็นมาของชนชาติไท บรรพหนึ่ง
Dam~Tao Dialogue 1 บทวิจารณ์มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง “เต้าตามไต เต้าทางไท”
ปัญหาอย่างหนึ่งของงานโบราณคดีโดยทั่วไปคือ การอธิบายความหมายและนัยยะของโบราณวัตถุให้เกินระดับพื้นผิวของวัตถุ โดยมากทำได้แค่เพียงอธิบายว่าโบราณวัตถุแบบเดียวกันนี้พบที่ไหนบ้าง ซึ่งเป็นผลมาจากพื้นฐานของงานโบราณคดี (และประวัติศาสตร์ศิลปะ) นั้นตั้งอยู่บนการศึกษาเชิงรูปแบบ (Form/Formalism) เป็นหลัก อาจมีบ้างที่พยายามจะถอดสัญญะความหมายแต่ก็เป็นไปอย่างตรงไปตรงมา