นิตยสารทางอีศาน ฉบับปัจจุบัน

Sticky Post

ทางอีศาน ฉบับที่ 157

‘ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต’ นิตยสาร “ทางอีศาน”ฉบับที่ ๑๕๗ ปีที่ ๑๔ ประจำเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๘ภาพปก : ไพบูลย์ ธรรมเรืองฤทธิ์เรื่องเด่นในฉบับ> สุวิทย์ ธีรศาศวัต | ทำไมเจ้าอนุวงศ์จึงต้องปราชัย> กำพล จำปาพันธ์ | “ขุนศึก” (ทหารเอก) ของเจ้าอะนุวงในสงคราม “ลาวรบไทย” & ใครมีวีรกรรมที่ไหน อย่างไร ใครสู้ตาย ใครดีล ใครอยู่เป็น ?> สุจิตต์ วงษ์เทศ | สยามมั่งคั่งจากการค้าจีน> ธเนศวร์ เจริญเมือง | ผู้ว่าฯเลึอกตั้งโดยประชาชน> สถิตย์ ภาคมฤค | คัมภีร์ใบลานอีศาน : ลมหายใจแห่งความทรงจำ> นงค์ลักษณ์ ...
Read More

เรื่องเด่น

{"page-item-id":"box1_2","title-type":"left","title":"\u0e40\u0e23\u0e37\u0e48\u0e2d\u0e07\u0e40\u0e14\u0e48\u0e19","title-background":"","title-link":"","category":"","tag":"%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%ad%e0%b8%b5%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%99143","num-fetch":"4","blog-style":"blog-widget-large","with-feature":"enable","with-tag":"disable","blog-size":"3","blog-layout":"carousel","num-excerpt":"0","thumbnail-size":"post-widget-left-featured","feature-thumbnail-size":"medium","orderby":"date","order":"desc","offset":"","pagination":"disable","enable-sticky":"enable","margin-bottom":"0","carousel":true,"carousel-class":" newsstand-blog-ajax "}

ข่าวเด่น / บทความล่าสุด

# การผนึกกำลัง
# การผนึกกำลัง

กรกฎาคม 4, 2025

โรงเรียนบ้านโนนศิลา
โรงเรียนบ้านโนนศิลา

กรกฎาคม 4, 2025

อำมหิต
อำมหิต

มิถุนายน 28, 2025

ก ล ว ง
ก ล ว ง

มิถุนายน 25, 2025

กราบ… ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม
กราบ… ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม

มิถุนายน 17, 2025

previous arrow
next arrow

# โครงการอ่านออกเขียนได้ง่ายนิดเดียว จัดโดย มูลนิธิทางอีศาน และมูลนิธิหมอชาวบ้าน สนับสนุนโดย บริษัท Northern Gulf Petroleum

# โครงการอ่านออกเขียนได้ง่ายนิดเดียว จัดโดย มูลนิธิทางอีศาน และมูลนิธิหมอชาวบ้าน สนับสนุนโดย บริษัท ...
Read More

จากใจทางอีศาน

รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๘

รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๘ ขอมอบรางวัลนี้แด่ทุกท่านผ...
Read More

ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์

มนต์เพลงอีศาน

เพลงรำโทน มาจนถึงเพลงรำวง

กลองโทนของภาคอีสานที่ใช้กันประจำมีอยู่ ๒ แบบ ตัวกลองทำด้วยไม้เนื้อแข็ง หนังหน้ากลองจะใช้หนังวัว โทนชนิดนี้เวลาตีจะมีเสียงดังแน่นและเป็น ที่นิยมใช้ เพราะใช้ได้ทนนานคุ้มค่า

“ลูกทุ่งอีสาน” เพลงไทยหรือเพลงลาว

แวะผ่านไปดูช่องยูทูป “ครูสลา คุณวุฒิ OFFICIAL” ที่มีคนติดตามมากกว่า 2 แสน ได้เห็นคอนเทนต์ใหม่ ๆ คือ “ไทบ้าน The Cover” โดยนำนักร้องประกวดที่ไม่ได้แชมป์ทางหน้าจอทีวีมาร้องเพลงดัง ตามเทรนด์คัฟเวอร์เพลง

งานนักร้อง เพลงรางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน

ในฐานะที่ผู้เขียนตอนนั้น นอกจากจะเป็นนักแต่งเพลงแล้วยังเป็นนักข่าวบันเทิงสัมผัสชีวิตของดารา นักร้อง ศิลปินคนดังพอสมควร จึงแวบไอเดียจะแต่งเพลงเพื่อเป็นตัวแทนให้ศิลปินที่ต้องทำหน้าที่เป็นคนของประชาชน ให้ความสุขความบันเทิงแก่แฟน ๆ อาจมีบ้างที่แฟนเพลงบางคนเข้ามาชื่นชมคลุกคลีมีจุดประสงค์แตกต่างกันไป ศิลปินนักร้องต้องขายเสียงหาเลี้ยงชีพได้รับการชื่นชมอุดหนุนจากบรรดาแฟน ๆ บางครั้งในสายตาของคนภายนอกอาจมองในแง่ไม่ดี

“นพดล ดวงพร” หัวหน้าวงดนตรี เพชรพิณทอง ครูใหญ่คำเม้า แห่งบ้านหนองหมาว้อ

๔ ผู้สร้าง ทางดนตรี แบบมีศิลป์ ทั้งเสียงพิณ เสียงแคน แสนสุขสันต์ วงดนตรี เพชรพิณทอง คลองในพลัน สร้างศิลปิน ลือลั่น ทั่วแดนไทย ครูนพดล ดวงพร กระฉ่อนชื่อ เป็นผู้ถือ วัฒนธรรม นำสมัย วงดนตรี พูดอีสาน กังวานไกล ๔ เสาหลัก นี้ไซร้ ให้จดจำ

หมอลำ และวาดลำ

หมอลำ หมายถึงผู้มีความเชี่ยวชาญในการลำ จนสามารถใช้ศิลปะการลำเป็นอาชีพสำหรับทำมาหากินเลี้ยงตนเองได้ วาดลำ หมายถึงลำนำหรือทำนองลำ ซึ่งเกิดจากฉันทลักษณ์และเสียงสูงต่ำ สั้นยาว ของถ้อยคำที่ประกอบขึ้นเป็นบทกลอนที่เรียกว่า กลอนลำ

พิณ แคน ซอ โปงลาง โหวด

พิณ แคน ซอ โปงลาง และโหวด เป็นดนตรีพื้นเมืองอีสานที่ใช้บรรเลงประกอบกับการละเล่นต่าง ๆ มีบทบาทเป็นที่นิยมของคนทั่วไปโดยเฉพาะ “แคน” ถูกยกให้เป็น “ราชาแห่งดนตรีพื้นเมืองอีสาน” “พิณ” เป็น “ราชินีแห่งดนตรีพื้นเมืองอีสาน”

อีสานบ้านเฮา

ประกาศรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะการสอนภาษาไทย เรื่อง “อ่านออก- เขียนได้ สอนง่ายนิดเดียว”

ประกาศรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะการสอนภาษาไทย เรื่อง “อ่านออก- เขียนได้ สอนง่ายนิดเดียว” สถานที่ ณ ห้องประชุม...
Read More

ท่องเที่ยวอารยธรรมทางอีศาน วันที่ 8 พฤษภาคม 2567 พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ~ เมืองเสมา ~ ปราสาทปรางค์นางผมหอม ~ มหาเจดีย์เขาคลังนอก

ท่องเที่ยวอารยธรรมทางอีศาน วันที่ 8 พฤษภาคม 2567 พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ~ เมืองเสมา ~ ปราสาทปรางค์นางผมหอม ~ มหาเจดีย์เขาคลังนอก

# พบปะหารือการปลูกมันสำปะหลัง ให้ได้ไร่ละ 40 ตัน #

# พบปะหารือการปลูกมันสำปะหลังให้ได้ไร่ละ 40 ตัน # ณ โรงเรียนบ้านโคกเขาพัฒนา อ.ปะคำ จ.บุรีรัมย์ วันพุธที่ 21 กุมภาพันธ์ 2...
Read More

อีสานแซบ

‘ลาบปู’ กินสะเดาบานคู่กับลาบปูยามค่ำ

วิธีการปรุงลาบปูคือง่ายมาก โดยเริ่มจากใส่เกลือลงในอ๋อปูสักหนึ่งช้อนชา แล้วบีบมะกอกสุกตามลงไปสักลูก มะกอกสุกให้รสเปรี้ยวนวลเข้ากันได้ดีกับเมนูปูนาหน้าหนาว เครื่องชูรสมีแค่นี้ หากยังขาดเปรี้ยวและเค็มก็ให้เติมเกลือและมะกอกเพิ่ม หลังจากนั้นให้ใส่พริกป่นตามไป และใส่ข้าวคั่วพร้อมต้นหอมผักชีเป็นอันดับสุดท้าย

ความทรงจำครั้งยังเยาว์

การนำเอาใบย่านางมาปรุงเป็นอาหาร จึงนับเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านแต่ดั้งเดิมที่คิดค้นได้อย่างชาญฉลาด อีกทั้งในเห็ดฟางให้วิตามินซีสูงต่อร่างกาย เป็นอาหารที่ให้คุณค่าทางโภชนาการสูง ดังนั้นในแกงเห็ดฟางใบย่านางหนึ่งจานนั้นจะประกอบไปด้วยผักพื้นบ้านอันมีประโยชน์ต่อร่างกายนานัปการ และจัดได้ว่าเป็นอาหารเมนูสุขภาพอีกจานหนึ่ง

นวนิยาย: กาบแก้วบัวบาน (๖)

“เจ้าก็รู้” เวียงจันทราย้ำคำพูดเสียงแจ่มใส “ที่ตระหง่านอยู่ต่อหน้าเจ้า คือเจดีย์พ้นทุกข์ ใครก็ตามที่มุ่งสู่ทางพ้นทุกข์ แต่ละคนดั้นด้นมากราบไหว้องค์เจดีย์ นั้นคือภารกิจพวกเขา ส่วนจะพ้นทุกข์หรือไม่ขึ้นอยู่กับวิธีการของแต่ละคน” ตวัดสายตากลับมาจ้องมองหน้าเหมราชเหมือนจะค้นหาอะไรบางอย่างที่ซ่อนลึกอยู่ในดวงตา “ทั้งเจ้า ทั้งข้า ทั้งองค์เจดีย์และผู้มากราบไหว้ ล้วนแต่มีภารกิจด้วยกันทั้งนั้น และภารกิจยังไม่สิ้นสุด”

เรื่องสั้น : กำแพง

ไอ้ห่า! มึงต่อยกับกูไหม ? ขบวนกลองยาวงานบวชพลันหยุดชะงัก จากขบวนแห่นาคกลับตาลปัตรเป็นสังเวียนมวยอย่างช่วยไม่ได้ หนุ่มเลือดร้อนรุ่นใหญ่ผมสองสีกลับมาท้าตีท้าต่อยกันกลางงานเหมือนเด็กวัยรุ่น

นวนิยาย : กาบแก้วบัวบาน (๕)

ข้าไม่มีเวลาได้ท่องเที่ยว ชายชุดขาวพูดด้วยสีหน้าขึงขังจริงจัง “บรรพบุรุษข้าเคยไปทวารวดี และศรีอโยธยา ปู่ข้าท่องลุ่มน้ำบางกอกมาแล้ว พ่อข้าบอกว่า เคยท่องเมืองล้านนา เมืองล้านช้าง แต่พ่อข้าห้ามนักห้ามหนา อย่าท่องเมืองรัตนโกสินทร์” หยุดหายใจ มองจ้องเข้าไปในดวงตาของเหมราชแล้วพูดเสียงหนัก ถ้ากรุงเทพฯ ที่เจ้าพูดถึงเป็นเมืองรัตนโกสินทร์ พ่อข้าห้ามไปเด็ดขาด

จดหมายจากนักอ่าน

คอลัมน์ จดหมาย

หลายปีนานมาแล้ว วันหนึ่งผมขึ้นเวทีอภิปรายบรรยายร่วมกับ “พ่อเล็ก กุดวงศ์แก้ว” ผู้นำอินแปง ผู้ซึ่งจะพูดเป็นภาษากะเลิง หรือภาษาอีสานแนวหนึ่งโดยไม่ผสมไทย เขาบอกว่า “ผมได้ยินคนพูดคำว่าวิสัยทัศน์มาบ่อยมาก ไม่เข้าใจแปลว่าอะไร ผมคนบ้านนอกจบแค่ ป.๔ แต่เมื่อฟังบ่อยเข้าก็เลยคิดเองว่า อ้อ มันคือสิแป๋ว่า ส่องซอด นั่นเอง” แล้วแกก็หัวเราะดังตามสไตล์คนอารมณ์ดี

จดหมาย

นิตยสารทางอีศานได้มอบความรักและเมตตาต่อผมและคณะ  ในการจัดพิมพ์ “บันทึกการสำรวจวิถีชีวิตลุ่มน้ำเสียวใหญ่” ผมรู้สึกซาบซึ้งเป็นอย่างมาก จนไม่อาจที่จะสรรหาคำพูดใดมาพรรณนาได้

ใบหน้านักอ่าน ทางอีศาน

แม่ใหญ่หนา พิบูล อายุ 84 ย่าง ชาวบ้านป่าสังข์ อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด จบ ป.4 “ภาษาไทยนี่แข่งได้ ภาษาอื่นถ้าได้เรียนกะสิได่คือกัน” แม่ใหญ่ว่า แม่ใหญ่ตำหมากกินแล้วมานั่งอ่านทางอีศาน ไล่ไปตั้งแต่หน้าคณะผู้จัดทำ สารบาญ . . .

นิตยสารทางอีศาน

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com