นิตยสารทางอีศาน ฉบับปัจจุบัน

Sticky Post

ทางอีศาน ฉบับที่ 149

ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต’ นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๑๔๙ ปีที่ ๑๓ ประจำเดือนกันยายน ๒๕๖๗ภาพประดับปกโดย ตนุุพล เอนอ่อนหลากหลายด้วยข้อเขียนคุณภาพ มากด้วยวรรณศิลป์ อาทิ๐ ตำนานอุรังคธาตุ : ภาพสะท้อนวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำโขง | ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ๐ ฮีต คอง ธรรม คนลาวก้ำฝั่งซ้าย ตอน ‘การอบรมเลี้ยงดูลูก’ | “จินตรัย”๐ คัมภีร์ใบลานกับผ้าห่อคัมภีร์ที่วัดศรีชมชื่น บ้านพิมาน อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม ภาพสะท้อนบทบาทหญิงชายในการทำบุญสร้างกุศลในริมฝั่งโชง | สาวิตรี สุรรณสถิตย์๐ ยินดีกับอดีตคอมมิวนิต...
Read More

เรื่องเด่น

{"page-item-id":"box1_2","title-type":"left","title":"\u0e40\u0e23\u0e37\u0e48\u0e2d\u0e07\u0e40\u0e14\u0e48\u0e19","title-background":"","title-link":"","category":"","tag":"%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%ad%e0%b8%b5%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%99143","num-fetch":"4","blog-style":"blog-widget-large","with-feature":"enable","with-tag":"disable","blog-size":"3","blog-layout":"carousel","num-excerpt":"0","thumbnail-size":"post-widget-left-featured","feature-thumbnail-size":"medium","orderby":"date","order":"desc","offset":"","pagination":"disable","enable-sticky":"enable","margin-bottom":"0","carousel":true,"carousel-class":" newsstand-blog-ajax "}

ข่าวเด่น / บทความล่าสุด

โครงสร้างสังคมไทย
โครงสร้างสังคมไทย

มกราคม 30, 2025

โลกหลังประชาธิปไตย (6)
โลกหลังประชาธิปไตย (6)

มกราคม 28, 2025

โลกหลังประชาธิปไตย (5)
โลกหลังประชาธิปไตย (5)

มกราคม 28, 2025

โลกหลังประชาธิปไตย (4)
โลกหลังประชาธิปไตย (4)

มกราคม 28, 2025

โลกหลังประชาธิปไตย (3)
โลกหลังประชาธิปไตย (3)

มกราคม 28, 2025

previous arrow
next arrow

“จิตร ภูมิศักดิ์ : กวีนักคิด-นักรบของประชาชน ไม่มีวันตาย”

ศ.พิเศษ ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนาเขียนขึ้นในโอกาสรับรางวัล “จิตร ภูมิศักดิ์”“วัน จิต(ร)เสรี” ๒๘ ตุลาคม ๒๕...
Read More

จากใจทางอีศาน

ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์

“วัดถ้ำจันทรคราส” อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

30 กรกฎาคม 2567 เริ่มต้นเดินทางเรียนรู้ ร่วมสำรวจ ใบเสมาองค์ประกอบสำคัญของ ...
Read More

คณะท่องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เวียดนามได้สร้างสะพานวัฒนธรรมเชื่อมมิตรภาพระหว่างประชาชน

คณะท่องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เวียดนามได้สร้างสะพานวัฒนธรรมเชื่อมมิตรภาพระหว่างประชาชนโดยการมอบของขวัญและหนังสือระหว่างผู้เหย้าผู้เยือน

มนต์เพลงอีศาน

ของจริงไม่ใช่อิงนิยาย

อาชีพการงานใดที่ผู้เขียนเคยทำมาได้มีประสบการณ์ ถึงจะจำวันเดือน ปี พ.ศ. ไม่ได้ แต่เหตุการณ์จำได้ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องวงการเพลงลูกทุ่ง ลูกกรุง สตริง เพื่อชีวิต หมอลำ ภาพยนตร์ คุยได้ทุกเรื่องอาจเป็นเพราะว่าสมัยหนุ่ม ๆ เข้าวงการมาใหม่ ๆ โชคช่วยให้เข้ามาอยู่ในแวดวงนักข่าวนักเขียน เข้ามาเป็นนักแต่งเพลงก็ได้รับหน้าที่เป็นผู้ควบคุมการผลิตเพลงครบวงจร ต้องสัมผัสประสานงานกับเหล่าศิลปินทุกแขนง ต้องดูแลการผลิตทุกขั้นตอน จึงได้รู้จักคนมาก และมีคนรู้จักมากแทบทุกวงการ จึงเก็บประสบการณ์ไว้ได้มากถึงแม้ไม่ใช่ข้อมูลทางวิชาการ แต่นี่คือความจริงไม่ใช่อิงนิยาย

ดนตรี วิถีผู้ไท ในมนต์เสน่ห์บ้านสวนนอเวียง – รสสา

ผืนนาลุ่มชุ่มน้ำของบ้านสวนนอเวียง – รสสา มีบ่อน้ำใสสะอาดอยู่ติดกับลำห้วยสายบ่อแก อันเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านบ่อสะอาด เป็นบ่อน้ำซับธรรมชาติที่ผุดขึ้นจากใต้ดินตลอดปี หล่อเลี้ยงชีวิตบรรพบุรุษชาวผู้ไท

ไทยบันเทิง ThaiPBS : “หมาเก้าหาง” วงพื้นบ้านอีสานปลุกใจรักท้องถิ่น

"เราจำลองวงดนตรี เหมือนกับรูปแบบของสังคม ก็คือเอาชีวิตในสังคมทั่ว ๆ ไปมาใช้ว่าเรามีความแตกต่างกันยังไง แต่จะใช้ความแตกต่างนี้ให้ลงตัวกันยังไงและไปต่อได้ยังไง..."

เพลงอีสานลำเพลิน (ไม่ธรรมดา) (๔๑)

พ.ศ.๒๕๑๑ ผู้สร้างและผู้กำกับภาพยนตร์ที่มีฉายาว่า “เสือปืนไว” ครูรังสี ทัศนพยัคฆ์ ได้สร้างภาพยนตร์เรื่อง “ชาติลำชี” เป็นภาพยนตร์บู้

“ดาวเวียง” กับโรงแรมเวียงวิไล

“โอ้เวียงจันทน์ แดนนี้ฉันเคยได้ไป โอ้เวียงวิไล แดนที่ฉันนั้นเคยได้พัก เจอะคนรักก็ที่เวียงราตรี” บทเพลงท่อนนี้ ทำให้ต้องมาทบทวนความทรงจำ สมัยที่ข้ามโขงติดสอยห้อยตามนักข่าวอาวุโสไปสัมภาษณ์ท่านไกสอน พมวิหาน นายกรัฐมนตรี สปป.ลาว เมื่อกลางปี ๒๕๓๓

“สุรสีห์ ผาธรรม” ผู้ชุบชีวิต “เพลงบ้านนาลาว”

“สุรสีห์ ผาธรรม” มาเกี่ยวข้องกับเพลงลาวได้ยังไง? หลายคนอาจรู้จักสุรสีห์ในฐานะผู้กำกับหนังครูบ้านนอก แต่ไม่เคยทราบมาก่อนว่า เขาข้ามโขงไปปลุกตลาดเพลงลาวให้คึกคักขึ้นมา

อีสานบ้านเฮา

“คนคลั่งครั่ง”

“มีไหมบ่มีครั่งย้อม มันบ่ห่อนแดงเอง คันบ่หาฟืมฟัด ต่ำทอบ่มีแล้ว มีไหมบ่มีเข็มห้อย สิเอาหยังหยิบแส่ว มีเข็มบ่มีไหมห้อยก้น สิหยิบได้ฮ่อมได๋”           ผ...
Read More

เฮ็ดกิ๋นแซบ

ผู้คนในภาคอีสาน มีฝีมือในการปรุงอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ประจำถิ่นได้อย่างยอดเยี่ยม การปรุงอาหารของคนในภาคอีสาน จะมีการถ่ายทอดสืบต่อกันแบบรุ่นสู่รุ่น แม่บ้านบางคนคิดสูตรเด็ดจนสามารถเปิดร้านขายอาหารอีสาน สร้างฐานะให้ครอบครัวได้ มีร้านอาหารบางแห่งคิดสโลแกนเขียนขึ้นป้ายให้ผู้ที่เข้าไปในร้านได้อ่านและเข้าใจ มีตัวอย่างที่เคยพบ เช่นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ มีร้านอาหารแห่งหนึ่งเขียนว่า “ได้ดื่มน้ำเย็น ได้เห็นรอยยิ้ม ได้อิ่มอาหาร ได้รับบริการประทับใจ” ก็นับว่าเป็นยุทธศาสตร์ทางธุรกิจอีกอย่างหนึ่ง

เมืองแห่งหอมแดง

พี่น้องชาวบ้านแถบ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ ปลูกหอมกันมาก เรียกว่าเมืองแห่งหอมหัวแดง แห่งหนึ่งก็ได้ และบางส่วนได้บุกเบิกปลูกแบบอินทรีย์ นำชื่อเสียงมาสู่เกษตรกรถ้วนหน้า

เรื่องผี

พูดเรื่องผีแล้วยังพิสูจน์กันไม่ได้ว่า ผีมีจริงหรือไม่? แต่ถึงกระนั้นผู้คนก็ยังกลัวผีกันอยู่ไม่น้อย อย่างไรก็ตามผู้คนทางอีสานก็ยังมีประเพณีถือผีกันอยู่ เช่น พิธีผีหมอเหยาของชาวบ้านไทกะเลิง พิธีเลี้ยงผีของไทโส้ ที่เรียกว่า “แซงสะนาม” การรักษาผู้ป่วยด้วยการประกอบพิธีรำผีฟ้า การเลี้ยงผีมเหสักข์หลักบ้านก่อนถึงฤดูทำนา และการเลี้ยงผีตาแฮก เป็นต้น

อีสานพาเที่ยว

อีสานแซบ

ผักเม็ก ควรกินคู่กับเนื้อสัตว์

ส่วนที่พึงระวัง: สำหรับการรับประทานผักเม็ก คือ ในผักเม็กมีสารออกซาเลต (Oxalate) สูง หากรับประทานสดหรือรับประทานจำนวนมากอาจเสี่ยงต่อการเป็นนิ่วได้ ซึ่งแก้ไขโดยการรับประทานอาหารที่มีโปรตีนหรือประเภทเนื้อสัตว์ควบคู่กันไป อันตรายจากโรคนิ่วก็จะไม่มี

โคราชบ้านเอ็ง ปลาป่นบ้านฉัน

วัฒนธรรมการกินของคนโคราชมี เอกลักษณ์พิเศษเฉพาะตัว และสิ่งที่ว่านั่นคือ “รสชาติ” สมัยเด็กป้าชอบทำน้ำพริกปลาฉลาด ซึ่งเป็นสูตรเฉพาะดั้งเดิม สมัยก่อนปลาฉลาดหา ได้ง่ายและราคาไม่แพงเหมือนปัจจุบัน พอได้ ปลามาแล้วจะตากแห้ง แล้วป้าก็จะนำมาย่างบน เตาถ่านร้อน และนำมาตำในครกกระเดื่องไม้ ขนาดใหญ่ ทำครั้งละมาก ๆ เพื่อแจกจ่ายไปยัง บ้านญาติคนอื่น ๆ ด้วย การตำนั้นตำเพียง หยาบ ๆ จึงจะได้รสชาติที่ดี

เมนูเด็ดจาก…หนัง

อาหารจากหนังในบ้านเรามีหลากหลายเมนูที่น่าสนใจ เช่น ยำหนังอาหารเหนือ ที่รับมาจากชาวไทใหญ่ หรือ คนเมือง(คนเหนือ) เรียกว่า“เงี้ยว” อย่างขนมจีนน้ำเงี้ยว ก็คือน้ำแกงของชาว”เงี้ยว”หรือไทใหญ่นั่นเอง และชื่อของดอกงิ้ว ที่เป็นส่วนประกอบในน้ำเงี้ยวชาวเหนือเรียกว่าดอกเงี้ยวนั่นเอง

ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน ตอนที่ 10

เมื่อคราวที่จารย์บุญและจารย์แก้วกับอีแพงเมียข่า พร้อมครอบครัวชาวข่าจำนวนหนึ่งลงมาจากยอดภู พวกเขาก็เดินทางเข้าตั้งบ้านเรือนอยู่ ณ ดินแดนห้วยขุหลุ อันเป็นบ้านเกิดเมืองนอนแต่เดิมมาของจารย์บุญ ฝ่ายเฒ่าแก่และหมู่ญาติก็พากันทำพิธีบายศรีสู่ขวัญ

ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน ตอนที่ 9

วันหนึ่ง, เมื่อคณะของหลวงสากลกิจฯเสร็จการตรวจตราการทำแผนที่แล้วเดินทางกลับเข้ากรุงเทพฯ แต่ฉันยังมีคำสั่งให้ช่วยพระยอดเมืองขวางทางด้านนี้อยู่ หมื่นประจักษ์สนิทนึกก็ชักชวนฉันขึ้นท่าที่เมืองนครพนม “ผมรู้ว่าท่านห่างบ้านห่างครอบครัวมานานชวนไปแสวงหาความสำราญคงไม่ว่าอะไร?” “จะว่าอะไรได้” ฉันบอก “นั่งดื่มเหล้าเว้าความลาวแล้วเมาหลับไป ทำกันอยู่บ่อย ๆ” “หามิได้ขอรับ บริวารผมที่นครพนมมีความสำราญอย่างใหม่” “บอกได้มั้ย ว่าความสำราญนั้นเป็นอย่างใด?” “ท่านต้องไปพิสูจน์ด้วยตัวท่านเองขอรับ”

ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน ตอนที่ 7

นายจำรัส ดนัยมนัสราษฎร์ เปิดบันทึกจางวางดนัยมนัสราษฎร์อ่านต่อไปแบบวางไม่ลง ท่านเจ้าคุณปู่ได้วางโครงวางแนวไว้ชวนติดตามแทรกเนื้อหาทางประวัติศาสตร์ พร้อมทั้งวิเคราะห์และวิจารณ์อย่างผู้ทรงภูมิรู้ เมื่อเอาข้อความของผู้ใดมาจะบอกไว้ว่าอ้างอิงจากหนังสือเล่มนั้นและเล่ม นี้ แสดงให้เห็นว่าท่านเป็นผู้เคารพผู้อื่น ถ้าอ้างถึงคนอื่นว่ากล่าวถ้อยร้อยความอย่างใด ท่านก็จับใจความ มาแต่เฉพาะความจริง ไม่ใช่นำมาตีไข่ใส่น้ำทำให้เลอะเทอะเปรอะเปื้อนและเป็นเท็จ แสดงให้เห็นว่าท่านเป็นผู้มีความเป็นธรรม จึงรักษายุติธรรมไว้ได้

จดหมายจากนักอ่าน

ภารตนิยาย : ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา แปล ตัด ต่อ แต่ง เติม จากคัมภีร์ภาษาสันสกฤต ปรากฤต และทมิฬ

ภารตนิยาย : ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา แปล ตัด ต่อ แต่ง เติม จากคัมภีร์ภาษาสันสกฤต ปรากฤต และทมิฬ โดยเริ่มตั้งแต่เรื่องต่างๆในคัมภีร์พระเวทตั้งแต่ ๔๐๐๐ ปี เรื่อยมาจนถึง มหากาพย์รามายณะ มหากาพย์มหาภารตะ และคัมภีร์ปุราณะต่างๆ ๑๘ คัมภีร์ ซึ่งเล่มสุดท้ายเขียนขึ้นเมื่อ ๑๐๐๐ กว่าปีนี่เอง

ทางอีศาน 59 จดหมาย

เซิ้ง ไม่ได้หมายถึง รำ นะครับ หมายถึงการขับร้องอย่างหนึ่ง มีต้นเสียง มีหางเสียง ใช้ร้องเป็นแถวขบวนรอบหมู่บ้าน เช่น เซิ้งนางด้ง เซิ้งนางแมว เป็นต้น แต่ในนิตยสารกล่าวว่า มีเซิ้งศรีโครต เซิ้งภูไท เซิ้งกระติ๊บข้าว เซิ้งโปงลาง เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ซึ่งเหล่านี้

ทางอีศาน 38 จดหมาย

คอลัมน์: จดหมาย Column: Letters นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๓๘ ปีที่ ๔ ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๘ ฉบับ: สภาพอีสานในห้วงปฏิวัติประชาธิปไตย ๒๔๗๕

นิตยสารทางอีศาน

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com