นิตยสารทางอีศาน ฉบับปัจจุบัน

Sticky Post

ทางอีศาน ฉบับที่ 151

‘ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต’ นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๑๕๑ ปีที่ ๑๓ ประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๗ ภาพประดับปกโดย ณรงชัย ประทุมมาตย์หลากหลายด้วยข้อเขียนคุณภาพ มากด้วยวรรณศิลป์ อาทิ๐ ตำนานอุรังคธาตุ : ภาพสะท้อนวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำโขง | ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ๐ ร่างตราเมืองเวียงจันท์ จ.ศ.๑๑๘๑ (พ.ศ.๒๓๖๒): พระพุทธเลิศหล้าฯ, สวนขวา และเจ้าอะนุวง (ก่อนเปิดศึกกับสยาม) | กำพล จำปาพันธ์๐ นักเขียนสตรีลาวรุ่นใหม่ กับความเป็น “นักคิด” ที่เผชิญอุปสรรค | “คมศิลป์”๐ “กำเลิด&#...
Read More

เรื่องเด่น

{"page-item-id":"box1_2","title-type":"left","title":"\u0e40\u0e23\u0e37\u0e48\u0e2d\u0e07\u0e40\u0e14\u0e48\u0e19","title-background":"","title-link":"","category":"","tag":"%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%ad%e0%b8%b5%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%99143","num-fetch":"4","blog-style":"blog-widget-large","with-feature":"enable","with-tag":"disable","blog-size":"3","blog-layout":"carousel","num-excerpt":"0","thumbnail-size":"post-widget-left-featured","feature-thumbnail-size":"medium","orderby":"date","order":"desc","offset":"","pagination":"disable","enable-sticky":"enable","margin-bottom":"0","carousel":true,"carousel-class":" newsstand-blog-ajax "}

ข่าวเด่น / บทความล่าสุด

แหล่งศึกษาและท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ (โฮจิมินห์)
แหล่งศึกษาและท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ (โฮจิมินห์)

ธันวาคม 16, 2024

ทะเลบัวแดง จ.อุดรธานี
ทะเลบัวแดง จ.อุดรธานี

ธันวาคม 16, 2024

ประชาสัมพันธ์
ประชาสัมพันธ์

ธันวาคม 16, 2024

“จิตร ภูมิศักดิ์ : กวีนักคิด-นักรบของประชาชน ไม่มีวันตาย”
“จิตร ภูมิศักดิ์ : กวีนักคิด-นักรบของประชาชน ไม่มีวันตาย”

พฤศจิกายน 6, 2024

ฝน | ฟ้า | หนาว
ฝน | ฟ้า | หนาว

พฤศจิกายน 6, 2024

previous arrow
next arrow

จากใจทางอีศาน

ทางอีศาน ฉบับที่ 145

ฉบับที่ ๑๔๕ ปีที่ ๑๓ ประจำเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๗ อ่านงานเขียนจากนักคิดนักเขียนมากมาย อาทิ 0 สดใส ขันติวรพงศ์ > อำนาจของดนตรี และบทกวีลำนำ 0 ดุลยภาค ปรีชารัชช > วิจารณ์มหากาพย์ชนชาติไท “เต้าตามไต เต้าทางไท” 0 ทิพภา ปลีหะจินดา > สัมภาษณ์พิเศษ “เจ้าเสือหาญฟ้า” 0 ชัชชล ไทยเขียว > “เสียงแห่งการขัดเกลา” ระฆังสำริดและระนาดหินในดนตรีราชสำนักจีนฯ 0 ชุมชน สืบวงศ์ > เรื่องเล่าจาก “เต้า”~“เสียง” “เต้าทางไท~ทางดนตรี”ฯ 0 สุชาติ สูงเรือง > นายฟอง สิทธิธรรม นักการเมืองติดคุกแต่สร้างวัดได้ 0 “ภาชน์ขวัญ” > นางในวรรณคดี “สุมุณฑา” พระเจ้าอาของ “สินไซ” 0 สมปอง ดวงไสว > คอกควายศิลปสถาน : แก่นสารชีวิต โชคชัย ตักโพธิ์ พบกวี : ชาตรี เสงี่ยมวงศ์, “หินสีครีม”, เจตส์ ตรังเค, ประภาศ ปานเจี้ยง, ”ไพฑูรย์ ธัญญา“, นิตา มาศิริ, นรเศรษฐ์ ทับทิมทอง, ปราโมช ปราโมทย์, “บุญมา ภูเม็ง”, มหาจัน อินทุพิราด, “รุ่งกานท์ มณีคำ” ภาพประดับปกโดย โชคชัย ตักโพธิ์

ปิดเล่ม “ทางอีศาน” ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๗

เพื่อ “ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต” นอกจากเนื้อหาสาระจากนิตยสารทางอีศานในมือท่านนี้ เรายังมีกิจกรรมต่าง ๆ เช่น จัดเสวนาอภิปราย จัดค่ายจุดประกายการอ่านเขียน เปิดตัวแนะนำหนังสือ และจัดท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม

ปิดเล่ม “ทางอีศาน” ฉบับปีใหม่มกราคม ๒๕๖๗ ~ “สู่ขวัญสุวรรณภูมิ”

ยืนยันอีกครั้งว่า นิตยสารรายเดือน "ทางอีศาน" ของเรายังยึดคติ "ขาดทุน คือ กำไร" แต่เพื่อจะได้ทำหน้าที่ผู้บันทึก ผู้สื่อสาร งานศิลปะ วัฒนธรรม และงานวิชาการทุกด้านต่อไปอย่างมั่นคง

ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์

วังช้าง ~ เวียงจัน สปป.ลาว

วังช้างเป็นแหล่งโบราณคดีที่สวยงามใกล้กับสุสานช้าง สถานที่แห่งนี้เคยเป็นที่เ...
Read More

เกร็ดทริปท่องเที่ยวเวียดนาม

0 ขณะนี้ที่สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม โดยเฉพาะเมืองเดียนเบียนฟู (หรือเมืองนาน้อยอ้อยหนู, แถน, แถง) กำลังขะมักเขม้นเตรียมเฉลิมฉลองชัยชนะครบรอบ 70 ปี“ยุทธการเดียนเบียนฟู” ในเดือนพฤษภาคมนี้

คณะท่องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เวียดนามได้สร้างสะพานวัฒนธรรมเชื่อมมิตรภาพระหว่างประชาชน

คณะท่องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เวียดนามได้สร้างสะพานวัฒนธรรมเชื่อมมิตรภาพระหว่างประชาชนโดยการมอบของขวัญและหนังสือระหว่างผู้เหย้าผู้เยือน

มนต์เพลงอีศาน

รำวงโบราณ อีสานย้อนยุค

หนุ่มสาวรำลอดผ่านซุ้มมีกติกาว่าเวลาหนุ่มสาววนมาถึงซุ้มสาวนางรำจะรอจังหวะให้หนุ่มเผลอแล้ววิ่งลอดผ่านซุ้มไปให้เร็ว เพราะถ้าหนุ่มวิ่งทันกันในซุ้มก็จะมีสิทธิ์ กอด หรือแตะต้องตัวสาวได้เฉพาะอยู่ในซุ้ม รำวงลอดถํ้าจึงเป็นที่นิยมสนุกสนาน ไม่เกินเลย ไม่เคยมีเรื่อง ทุกคนถือเป็นการละเล่นไม่ได้ล่วงเกินหากำไร

หนี้กรรม เพลงหักปากกาเซียน

ผ่านไปไม่กี่วันสถานีวิทยุต่าง ๆ เปิดเพลง “หนี้กรรม” ตามคำขอทางโทรศัพท์ ทางจดหมายของแฟน ๆ เพลง เป็นเพลงดังอย่างรวดเร็ว จนคนในวงการวิจารณ์กันว่าเป็นเพลง “หักปากกาเซียน” เพราะคนทั่วไปจะรู้ว่าเพลงที่เป็นสาระ เพลงเกี่ยวกับสถาบัน เกี่ยวกับธรรมะจะไม่ดังแต่เพลง “หนี้กรรม” กลับดังได้

Visions for Mo Lam in Mainland Southeast Asia : การก้าวข้ามพรมแดนทางวัฒนธรรมดนตรี

In the old days music of Isan or Northeast Thailand was rarely known or appreciated by outsiders. It was considered an inferior music; the musicians and singers (molam) were looked down by people or musicians of other cultures. The Isan people themselves, especially educated people---college students and professors, also felt insecure in their arts.

เพลงรำโทน มาจนถึงเพลงรำวง

กลองโทนของภาคอีสานที่ใช้กันประจำมีอยู่ ๒ แบบ ตัวกลองทำด้วยไม้เนื้อแข็ง หนังหน้ากลองจะใช้หนังวัว โทนชนิดนี้เวลาตีจะมีเสียงดังแน่นและเป็น ที่นิยมใช้ เพราะใช้ได้ทนนานคุ้มค่า

“ลูกทุ่งอีสาน” เพลงไทยหรือเพลงลาว

แวะผ่านไปดูช่องยูทูป “ครูสลา คุณวุฒิ OFFICIAL” ที่มีคนติดตามมากกว่า 2 แสน ได้เห็นคอนเทนต์ใหม่ ๆ คือ “ไทบ้าน The Cover” โดยนำนักร้องประกวดที่ไม่ได้แชมป์ทางหน้าจอทีวีมาร้องเพลงดัง ตามเทรนด์คัฟเวอร์เพลง

งานนักร้อง เพลงรางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน

ในฐานะที่ผู้เขียนตอนนั้น นอกจากจะเป็นนักแต่งเพลงแล้วยังเป็นนักข่าวบันเทิงสัมผัสชีวิตของดารา นักร้อง ศิลปินคนดังพอสมควร จึงแวบไอเดียจะแต่งเพลงเพื่อเป็นตัวแทนให้ศิลปินที่ต้องทำหน้าที่เป็นคนของประชาชน ให้ความสุขความบันเทิงแก่แฟน ๆ อาจมีบ้างที่แฟนเพลงบางคนเข้ามาชื่นชมคลุกคลีมีจุดประสงค์แตกต่างกันไป ศิลปินนักร้องต้องขายเสียงหาเลี้ยงชีพได้รับการชื่นชมอุดหนุนจากบรรดาแฟน ๆ บางครั้งในสายตาของคนภายนอกอาจมองในแง่ไม่ดี

อีสานบ้านเฮา

ท่องเที่ยวอารยธรรมทางอีศาน วันที่ 8 พฤษภาคม 2567 พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ~ เมืองเสมา ~ ปราสาทปรางค์นางผมหอม ~ มหาเจดีย์เขาคลังนอก

ท่องเที่ยวอารยธรรมทางอีศาน วันที่ 8 พฤษภาคม 2567 พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์ ~ เมืองเสมา ~ ปราสาทปรางค์นางผมหอม ~ มหาเจดีย์เขาคลังนอก

สะบ้า เป็นได้มากกว่าของเล่น

ในวงสนทนาคํ่าคืนหนึ่ง เพื่อนที่มาด้วยกันจากในเมืองยื่นของสิ่งหนึ่งให้ดูแล้วถามว่า นี่ลูกอะไรเก็บมาจากพื้นดินเมื่อตอนเดินเที่ยวป่าตอนบ่าย ผมมองลูกกลมแบน สีนํ้าตาลอมแดง ขนาดกําได้ในฝ่ามือ แล้วตอบ อ๋อ เขาเรียกลูกสะบ้า ในป่าดิบชื้นนี่พบได้มาก แล้วรู้ไหมเมล็ดสะบ้านี่ เอาไปทําอะไรได้บ้าง

ห.หีบ

ครูโต้นแกมีลูกเขยเป็นครูชื่อ นพพร ครูนพพรเป็นครูรุ่นใหม่ มีแนวคิดที่ปฏิรูปการเรียนการสอนให้มันเข้ายุคสมัย ซึ่งขัดกับพ่อเฒ่าที่เป็นครูเก่า หัวโบราณ บางครั้งครูนพพรก็เคยลองภูมิพ่อเฒ่าเรื่องความรู้ใหม่ ๆ อยู่บ้าง ครูโต้นแกก็สามารถตอบและแก้ปัญหาที่ลูกเขยหัวใหม่มันลองภูมิได้ทุกครั้ง

รักลูก

บักกองมันเป็นคนขยันขันแข็ง ทําไร่ทํานาด้วยความเอาใจใส่ บ่ต้องให้ไผบอกตื่นแต่เช้ารีบออกไปยังหน้างาน ทำให้พ่อเฒ่ายอดแกชื่นชมในความขยันของบักกองผู้เป็นลูกเขยยิ่งนัก แต่บักกองมันก็มีเอกลักษณ์ อย่างหนึ่ง นั่นคือการหยอกล้อหรือแก่ลงพ่อเฒ่าให้ชื่นอารมณ์ หากวันใดมีโอกาสเหมาะบักกองจะรีบฉวยโอกาสทันที

อีสานแซบ

“เห็ดเผาะ” ฤดูน้ำ ฤดูฝน ฤดูคนรักเห็ด

“อ้าวเห็ดแท้ ๆ” พ่อจะพูดแบบนี้เสมอหลังฝนตกได้สองสามวัน แล้วอากาศอบอ้าวจนเหนียวตัวมากกว่าปกติ นี่แหละสภาวะที่พอเหมาะต่อการเจริญเติบโตของเห็ดป่า...เริ่มกันที่...เห็ดเผาะ

‘ก้อยหอยขัว’ เมนูแซบนัวในฤดูร้อนแล้ง

“หอยขัวคืออะไรคะ” “หอยขัวคือหอยที่ได้จากการขัว ขัวหอยคือการใช้เสียมค่อย ๆ ขุดถากหน้าดิน เพื่อหา ‘หอยเข้าไง’ หอยเข้าไงคือหอยจำศีลในฤดูน้ำแห้งขอด”

อาจารย์เสรี พงศ์พิศ มาพบผู้อ่านที่บูธ “ชนนิยม ~ แม่คำผาง ~ ทางอีศาน” E32

อาจารย์เสรี พงศ์พิศ มาพบผู้อ่านที่บูธ “ชนนิยม ~ แม่คำผาง ~ ทางอีศาน” E32 พร้อมมอบลายเซ็นด้วยไมตรีและเป็นที่ร...
Read More

นวนิยาย: กาบแก้วบัวบาน (๖)

“เจ้าก็รู้” เวียงจันทราย้ำคำพูดเสียงแจ่มใส “ที่ตระหง่านอยู่ต่อหน้าเจ้า คือเจดีย์พ้นทุกข์ ใครก็ตามที่มุ่งสู่ทางพ้นทุกข์ แต่ละคนดั้นด้นมากราบไหว้องค์เจดีย์ นั้นคือภารกิจพวกเขา ส่วนจะพ้นทุกข์หรือไม่ขึ้นอยู่กับวิธีการของแต่ละคน” ตวัดสายตากลับมาจ้องมองหน้าเหมราชเหมือนจะค้นหาอะไรบางอย่างที่ซ่อนลึกอยู่ในดวงตา “ทั้งเจ้า ทั้งข้า ทั้งองค์เจดีย์และผู้มากราบไหว้ ล้วนแต่มีภารกิจด้วยกันทั้งนั้น และภารกิจยังไม่สิ้นสุด”

เรื่องสั้น : กำแพง

ไอ้ห่า! มึงต่อยกับกูไหม ? ขบวนกลองยาวงานบวชพลันหยุดชะงัก จากขบวนแห่นาคกลับตาลปัตรเป็นสังเวียนมวยอย่างช่วยไม่ได้ หนุ่มเลือดร้อนรุ่นใหญ่ผมสองสีกลับมาท้าตีท้าต่อยกันกลางงานเหมือนเด็กวัยรุ่น

จดหมายจากนักอ่าน

คอลัมน์ จดหมาย

หลายปีนานมาแล้ว วันหนึ่งผมขึ้นเวทีอภิปรายบรรยายร่วมกับ “พ่อเล็ก กุดวงศ์แก้ว” ผู้นำอินแปง ผู้ซึ่งจะพูดเป็นภาษากะเลิง หรือภาษาอีสานแนวหนึ่งโดยไม่ผสมไทย เขาบอกว่า “ผมได้ยินคนพูดคำว่าวิสัยทัศน์มาบ่อยมาก ไม่เข้าใจแปลว่าอะไร ผมคนบ้านนอกจบแค่ ป.๔ แต่เมื่อฟังบ่อยเข้าก็เลยคิดเองว่า อ้อ มันคือสิแป๋ว่า ส่องซอด นั่นเอง” แล้วแกก็หัวเราะดังตามสไตล์คนอารมณ์ดี

ภารตนิยาย : ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา แปล ตัด ต่อ แต่ง เติม จากคัมภีร์ภาษาสันสกฤต ปรากฤต และทมิฬ

ภารตนิยาย : ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา แปล ตัด ต่อ แต่ง เติม จากคัมภีร์ภาษาสันสกฤต ปรากฤต และทมิฬ โดยเริ่มตั้งแต่เรื่องต่างๆในคัมภีร์พระเวทตั้งแต่ ๔๐๐๐ ปี เรื่อยมาจนถึง มหากาพย์รามายณะ มหากาพย์มหาภารตะ และคัมภีร์ปุราณะต่างๆ ๑๘ คัมภีร์ ซึ่งเล่มสุดท้ายเขียนขึ้นเมื่อ ๑๐๐๐ กว่าปีนี่เอง

จดหมายจากผู้อ่าน

ขอแจ้งให้สมาชิก และพี่น้องปล้องปลายทราบทั่วกันในที่นี้เลยว่า มีข่าวสารข้อเขียนเรื่องราวใด ๆ ให้ติดต่อสำนักที่อยู่กรุงเทพฯ แห่งเดียวเท่านั้นขอบพระคุณคุณพ่อประสาสน์ รวมทั้งคุณพ่อบุญเลิศ สดสุชาติ ในความเมตตาส่งข้อเขียนและคำพรมาให้ชาวคณะทางอีศานเป็นประจำครับ

จดหมาย

นิตยสารทางอีศานได้มอบความรักและเมตตาต่อผมและคณะ  ในการจัดพิมพ์ “บันทึกการสำรวจวิถีชีวิตลุ่มน้ำเสียวใหญ่” ผมรู้สึกซาบซึ้งเป็นอย่างมาก จนไม่อาจที่จะสรรหาคำพูดใดมาพรรณนาได้

นิตยสารทางอีศาน

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com